2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
สังคมอยุ๋เย็นเป็นสุขร่วมกัน มีคุณธรรมนำความรู้เท่าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชน เข้มแข็ง เศรษฐกิจดี ชุมชนมีคุณธรรม เสถียรภาพ และเป็นธรรม ประชาชนมีส่วนร่วมให้ดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญในการดูแลสุขภาพในยุคปัจจุบัน
การมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว ทำให้ทุกคนในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้เป็นสังคมที่มีการให้และแบ่งปันซึ่งกันและกัน ซึ่งต้องขับเคลื่อนทั้งระบบโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กวัยเรียน เพราะการให้ความสำคัญการดูแลสุขภาพเป็นคุณลักษรณะอันพึงประสงค์อย่างหนึ่งที่จะต้องปลูกฝังอย่างต่อเนื่่อง ดังสุภาษิตที่ว่า"ไม้อ่อนดัดง่ายไม้แก่ดัดยาก"
กระบวนการในการสร้างเสริมค่านิยมในการให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพให้กับคนในชุมชน มีแนวทางที่หลากหลายเพื่อให้คนในชุมชนเกิดความรู้และความเข้าใจที่สามารถนำออกมาใช้ได้ลักษณะการมีจิตอาสาต่อตนเอง และผู้อื่นในชุมชน ซึ่งในการเสริมสร้างให้กับผู้เรียนรู้ก็มีหลากหลายวิธีการที่จะช่วยให้คนในชุมชนได้รับรู้และเรียนรู้ได้อย่างถูกต้องคลองธรรม เพื่อไปสู่การมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองและช่วยเหลือบุคคลอื่น และเอื้อตนให้เป็นประโยชน์ต่อคนในชุมชนต่อไป
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/01/2019
กำหนดเสร็จ 30/09/2019
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถั่วเฉลี่ยกันได้
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. กลุ่มแกนนำชุมชนมีความรู้และทักษะ และสามารถถ่ายทอดความรู้ในการดูแลสุขภาพของประชาชนลงสู่ชุมชนได้
2. กลุ่มแกนนำชุมชน สามารถเป็นต้นแบบและเป็นแกนนำในการจัดการด้านสุขภาพ ภาคประชาชนและเป็นแบบอย่างที่ดีในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้
3. ประชาชนในตำบลมูโนะ ได้รับความรู้ และการดูแลสุขภาพ และสามารถดูแลตนเองและครอบครัวได้อย่างมีส่วนร่วม