กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการกินอาหารเป็นยา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์ชุมชนบ้านท่าข้ามควาย

1. นางกมลทิพย์ ช่วยเอียด
2. นางอุไร เอียดแก้ว
3. นางวัณดี หลังเถาะ
4. นางตีก๊ะ ประกอบ
5. นางศิริวรรณ ชูพงษ์

บ้านท่าข้ามควาย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เนื่องจากปัจจุบันนี้ผู้คนมีปัญหาสุขภาพกันมากทั้งมาจากสาเหตุของพฤติกรรมการปฏิบัติตัวไม่เหมาะสม การกินอาหารไม่เป็นเวลา รวมทั้งสารเคมีที่ปนเปื้อนมากับอาหาร น้ำดื่มที่รับประทานเข้าไป ก่อให้เกิดโทษต่อร่างกายเป็นปัญหาสุขภาพ
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์ชุมชนบ้านท่าข้ามควาย ได้ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพจึงมีความคิดอยากชวนสมาชิกในกลุ่มและผู้ที่สนใจทำกิจกรรมร่วมกันปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน ด้วยการทำอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ สอดแทรกความรู้เรื่องการกินอาหารให้ถูกต้องเหมาะสมแก่ตนเอง จึงเกิดเแ็นกิจกรรมกินโปรตีนพลังสั้น อุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหารมากมายจากธัญพืชหลากหลาย และดื่มชาตามธาตุเจ้าเรือน โดยให้สมาชิกแต่ละคน เรียนรู้ธาตุเจ้าเรือนของตนเอง และเลือกกินยาสมุนไพรที่ถูกกับเจ้าเรือนของตนเอง คาดว่าหลังเสร็จสิ้นโครงการสมาชิกจะมีความสนใจในการดูแลสุขภาพมากขึ้นใส่ใจเรื่องอาหารการกิน มีการปรับเปลี่อนพฤติกรรม เพื่อไปสู่การมีสุขภาพร่างกายที่ดี

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้การดูแลสุขภาพด้วยการกินอาหารเป็นยา

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังทำกิจกรรม

0.00
2 เพื่อให้สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจในการกินอาหารให้เหมาะสมกับตนเอง

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังทำกิจกรรม

0.00
3 สมาชิกมีสุขภาพดีขึ้นในระยะยาวจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค

ติดตามผลสุขภาวะสุขภาพขอสมาชิกต่อเนื่อง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/08/2019

กำหนดเสร็จ 31/08/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กินอาหารเป็นยา

ชื่อกิจกรรม
กินอาหารเป็นยา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้
-ค่าวิทยากร 600 บ. X 3 ชม.X 2 คน เป็นเงิน 3,600 บาท
-ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อX 20 บาทX 40 คนเป็นเงิน 1600 บาท
-ค่า สมุดอุปกรณ์ 40 บาทX 40 คน เป็นเงิน 1600 บาท
- ค่าเช่าสถานที่ พร้อมเครื่องเสียง 1000 บาท
- ค่าอาหารกลางวันจำนวน 1 มื้อๆละ 60 บ. จำนวน 40 คน เป็นเงิน 2400 บาท
1.1 กินโปรตีนพลังลั่น
-ธัญพืชหลากสี 6 ขวดๆละ 300 = 1,800 บาท
-ซีอิ้วขาว 30 บ. x 1 ขวด = 30 บ.
-เกลือ 10 บ.
-น้ำตาล 40บ. x1 กิโลกรัม = 40 บ.
-ถาด 100 บ. x 2 ใบ = 200 บ.
-มีด 30 บ. x 10 อัน = 300 บ.
-เขียง 20บ. x 5 อัน = 100 บ.
-กะละมัง 20 บ. x 5 ใบ = 100 บ.
-ลังลึก 750 บ.x 1 อัน = 750 บ.
-น้ำมันมะพร้าว 120 บ. x 1 ลิตร = 120 บ.
1.2 ดื่มชาตามธาตุเจ้าเรือน
-สมุนไพร 200 บ.
-หม้อสแตนเลส 350 x 4 ใบ = 1,400 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สมาชิกให้ความสนใจในการดูแลสุขภาพด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน
2. สมาชิกมีความรู้ความเข้าใจในการกินอาหารให้เหมาะสมกับตนเอง
3. สมาชิกมีสุขภาพดีขึ้นจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระยะยาว


>