กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนร่วมใจ ห่วงใยสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

ชุมชนบ้านโพธ์

1.นายสุชาติเฮ่าฮู่เที่ยน
2.นางนวลจันทร์ดาเระหมีน
3.นางวรรณาเพชรทอง
4.นางโฉมฉายหลังเถาะ
5.นายสำเริงมานะกล้า

ศาลาเอนกประสงค์ ชุมชนบ้านโพธ์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.ครัวเรือนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในการกำจัดขยะที่ถูกต้อง

2.สร้างรูปแบบการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

0.00
2 2.ชุมชนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนห่างไกลจากเชื้อโรคที่มาจากขยะมูลฝอยได้และมีสุขอนามัยที่ดีของชุมชน

2.สร้างรูปแบบการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชฃุมชน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการชุมชนร่วมใจ ห่วงใยสิ่งแวดล้อม

ชื่อกิจกรรม
โครงการชุมชนร่วมใจ ห่วงใยสิ่งแวดล้อม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ระยะเตรียมการ -ประสานงานชุมชนเพื่อวางแผนการจัดการโครงการ -เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ -เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ -สำรวจครัวเรือนในชุมชน วิเคราะห์ข้อมูล/จัดทำฐานข้อมูล -จัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามโครงการ ประสานงานกลุ่มเป้าหมาย/วทยากร 2.ระยะเวลาดำเนินการ -จัดอบรมให้ความรู้ การกำจัดขยะภายในครัวเรือนและชุมชน -ประเมินความรู้ก่อนการอบรม -ประเมินความรู้หลัการอบรมในการกำจัดขยะตามหลักสุขาภิบาล -กรรมการผู้รับผิดชอบลงพื้นที่ติดตามผล -ลงบันทึกผลการประเมิน 3ระยะประเมินผล -สรุปและประเมินผลโครงการ งบประมาณ 11,000.-บา -ค่าอาหารกลางวันของผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คนๆละ 50 บาทเป็นเงิน 3,000.-บาท -ค่าอาหารว่างของผู้เข้าร่วมโครงการ (ช้า) จำนวน 60 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน1,500.-บาท -ค่าอาหารว่างของผู้เข้าร่วมโครงการ (บ่าย) จำนวน 60 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500.-บาท -ค่าสมนาคุณวิทยากร อบรมให้ความรู็เป็นเวลา 6 ชั่วโมง ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800.-บาท -ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาดกว้าง 1.2 เมตร ยาว 2.4 เมตร เป็นเงิน 500 บาท -ค่าเอกสารแผ่นพับ/แฟ้ม จำนวน 60 คน ๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1,800.-บาท -ค่าจัดซื้ออุปกรณ์สาธิต -ถังพลาสติก (สำหรับใส่ขยะเปียก) จำนวน 20 ใบ ๆละ 45 บาทเป็นเงิน 900.-บาท รวมเป็นเงิน 11,000.-บาท
ทุกรายการถั่วเฉลี่ยได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ปลูกจิตสำนึกในการกำจัดขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน 2.ลดปริมาณขยะและเสริมสร้างความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง 3.สร้างรูปแบบการจัดการขยะ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11480.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,480.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ปลูกจิตสำนึกในการกำจัดขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน
2.ลดปริมาณขยะและเสริมสร้างความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
3.สร้างรูปแบบการจัดการขยะ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน


>