กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชาวนาโยงใต้ป้องกันภัยห่างไกลเด็กจมน้ำ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลนาโยงใต้

นางวรรณดี สุขมาก
นางประดา ตงอ่อน
นางสาคร สามทิศ
นางชื่นจิตร แก้วบุญ
นางรำไพ รอดสวัสดิ์

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำในพื้นที่

มีการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำในพื้นที่

100.00 100.00
2 เพื่อให้เกิดการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำโดยความร่วมมือของสหสาขาและใช้ทรัพยากรในพื้นที่ทุกมาตรการได้อย่างต่อเนื่อง

มีความร่วมมือของสหสาขาในการป้องกันการจมน้ำและใช้ทรัพยากรน้ำำในพื้นที่

100.00 100.00
3 เพื่อให้เด็กในกลุ่มเสี่ยงสามารถลอยตัวหรือว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

เด็กในพื้นที่สามารถลอยตัวหรือว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้

100.00 100.00
4 เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจาการจมน้ำในเด็ก

ลดอัตราการจมน้ำในเด็ก

100.00 100.00
5 เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเข้าใจวิธีการป้องกันเด็กจมน้ำ

ประชาชนเกิดความตระหนักและเข้าใจวธีการป้องกันเด็กจมน้ำ

100.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด หลักสูตรเร่งรัด 2 วัน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด หลักสูตรเร่งรัด 2 วัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในกาเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน จำนวน 2 วัน ๆละ 2 มื้อๆละ 30 บาท เป็นเงิน 6000 บาท ค่าอาหารกลางวันในการเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน จำนวน 2 วันๆ ละ 1 มื้้อๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 7000 บาท ค่าวิทยากรอบรม 2 วัน วันละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7200 บาท ค่าจัดการแหล่งน้ำเสี่ยงเป็นเงิน 15400 บาท ป้ายเตือนบริเวณแหล่งน้ำจำนวน 6 แหล่ง แห่งละ1000 บาท เป็นเงิน 6000 บาท ป้ายแนะนำวิธีการช่วยคนตกน้ำ จำนวน 8 แห่ง ๆ ละ 6400 บาท อุปกรณ์สำหรับช่วยคนจมน้ำ เป็นเงิน 3000 บาท รวม 35600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ศึกษาข้อมูลสถานการณ์การเสียชีวิตจากการจมน้ำ 2 บรรยายเรื่องการจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง 3การเรียนการสอนหลักสูตรว่ายน้ำ เพื่อเอาชีวิตรอด 4การสอนฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ CPR 5บรรยายเรื่องความปลอดภัยในการเดินทางน้ำ และอุปกรณ์ที่ควรนำไปด้วยเมื่อเล่นน้ำ 6บรรยายเรื่องกฎหมายแห่งความปลอดภัย 7บรรยายเรื่องทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ 8บรรยายเรื่องทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
35600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 35,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีการบริหารจัดการให้มีการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำอย่างมีประสิทธภาพ มีการดำเนินงานมาตรการดำเนินการป้องกันเด็กเสียชีวิตจากการจำน้ำภายใต้อำเภอควบคุมเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ผ่านการรับรองมาตรฐานจากสำนักควบคุมโรคไม่ติดต่อ
2.ตำบลนาโยงใต้ไม่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิต
3.ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ สามารถบริหารจัดการในการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำตามบทบาทของตนเองได้


>