2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
โรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย ไข้ซิกา โรคชิคุนกุนยา และโรคติดต่อที่นำโดยยุง เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญที่มีการระบาดรุนแรงและมีแนวโน้มสูงขึ้นนอกจากนี้ยังพบว่ายุงลายสามารถแพร่พันธุ์ได้ตลอดทั้งปี ส่งผลให้อัตราการเกิดโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะมีตลอดทั้งปี ฉะนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งหาแนวทางในการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะในเด็กเล็ก โดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคีรีลาด สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชันจึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการ การป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ เพื่อเป็นผู้ปกครอง รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ โดยการลดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง เฝ้าระวังความเสี่ยง เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุข
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/10/2018
กำหนดเสร็จ 30/09/2019
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.การระบาดของโรคที่มียุงเป็นพาหะมีอัตราที่ลดลง
2.ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย ไข้ซิกา โรคชิคุนกุนยา และโรคติดต่อที่นำโดยยุง และรู้วิธีป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคที่มียุงเป็นพาหะ
3.มีการป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง
4.หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตระหนัก ให้ความสำคัญและเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ และให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ