กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

หนูน้อยห่างไกลอาหารขยะ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาเอียด

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาเอียด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสังคมที่เปลี่ยนไปมีการพบเห็นว่าเด็กๆสวนมากบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน เช่นน้ำอัดลมขนมขบเคี้ยวขนมหวานทุกชนิด ลูกอมหมากฝรั่งอาหารทอดและอาหารจานด่วนบางชนิด การบริโภคอาหารขยะเป็นประจำจะส่งผลให้ร่างกายขาดสารอาหารโปรตีน วิตามินและเกลือแร่ที่จำเป็นต่อการทำงานของร่างกายและยังเสี่ยงต่อภาวะการเป็นโรคหัวใจความดันโลหิตจางโรคเบาหวานโรคไขข้อและโรคอ้วน ซึ่งส่งผลเสี่ยงต่อประสิทธิภาพการทำงานของสมองด้วย เพื่อให้เด็กบริโภคอาหารที่ถูกต้อง และที่ยังขาดความรู้ความเขาใจ และความสนใจในการเลือกบริโภคอาหารอย่างไม่ถูกหลักอนามัย ที่ให้เกิดผลกระทบเสียหายต่อสุขภาพร่างกาย โดยเฉพาะเด็กเนื่องจากผู้ปกครองมีส่วนสำคัญในการปลูกฝังลักษณะนิสัยการบริโภคที่ถูกหลักอนามัยให้กับบุตรหลาน แต่ในสังคมปัจจุบันต้องมีการแข็งขันในการทำงาน ทำให้หลายครอบครัวขาดความเอาใจใสในการบริโภคอาหารของลูกหลานในครอบครัว ทำให้เด็กๆบริโภคอาหารการกินจำพวกแฮมเบอร์เกอร์เฟรนซ์ฟรายพิซซ่าและน้ำอัดลมว่าเป็นอาหารที่ให้พลังงานสูงแต่โปรตีนน้อยมากและมีคุณค่าทางโภชนาการต่ำจึงไม่ควรกินเป็นอาหารหลักหากกินอาหารเหล่านี้มากๆอาจส่งผลต่อร่างกายจากการกินอาหาร ที่ไม่มีประโยชนเข้าสู่ร่างกาย ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านพับผ้า(ตาเอียด) ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดทำ โครงการ "หนูน้อยห่างไกลอาหารขยะ" ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อพัฒนาให้เด็กได้รูจักบริโภคอาหารที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ และเพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ และถูกหลักโภชนาการ และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และโทษของอาหารขยะ

 

0.00
2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีทักษะในการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ให้กับเด็ก

 

0.00
3 เพื่อให้เด็กมีทักษะในการเลือกอาหารทำให้เด็กมีพัฒนาการที่ดี

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ปกครองเด็ก 32

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมหนูน้อยห่างไกลอาหารขยะ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมหนูน้อยห่างไกลอาหารขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากร 600บ x 1 คน x 5 ชม.          =  1,500บ. ค่าอาหารกลางวัน 50 บ x 32 คน x 1 มื้อ  = 1,600บ. ค่าอาหารว่าง25 บ.x64 คน x 2 มื้อ          = 3,200บ. ค่าป้าย 1,000 บ.x 1 ผืน                       = 1,000บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 7,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ปกครองและเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และโทษของอาหารขยะ
2. ผู้ปกครองมีทักษะในการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ให้กับเด็ก
3. เด็กมีทักษะในการเลือกอาหารทำให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้น


>