กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหนูน้อยปฐมวัยสดใส สุขภาพดี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมูฮำมาดียะห์ ปาเระรูโบ๊ะ

1. นายอับดุลนาเซ ปาเน๊าะ
2. นายรอระ ซาและ
3. นายไซมิง ปูเต๊ะ
4. นางสาวนาบีฮา มะแซะ
5. นางสาวยารอดะห์ กือแน

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมูฮำมาดียะห์ ปาเระรูโบ๊ะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เด็กปฐมวัยหรือช่วงหรือช่วงวัยตั้งแต่แรกเกิด จนถึง 6 ขวบบริบูรณ์ ถือเป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดในชีวิตช่วงหนึ่งของเด็ก เนื่องจากในระยะนี้เด็กจะจริญเติบโจอย่างรวดเร็ว และมีพัฒนาการทุกด้านสูงขึ้น การดูแลสุขภาพ และความปลอดภัยในเด็กปฐมวัยจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งอันเป็นรากฐานไปสู่การมีชีวิตที่มั่นคง ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ และอันตรายรูปแบบต่างๆที่เกิดขึ้นกับเด็กได้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมูฮำมาดียะห์ ปาเระรูโบ๊ะเห็นความสำคัญในการดุแลสุขภาพ และความปลอดภัยของเด็กปฐมวัย จึงจัดทำโครงการหนูน้อยปฐมวัยสดใส สุขภาพดีขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง ยิ้มแย้มแจ่มใส

เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง ยิ้มแย้มแจ่มใส

31.00 33.00
2 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย

ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย

31.00 33.00
3 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความสามารถประเมินติดตามพัฒนาการของบุตรได้ และให้เด็กมีพัฒนาการสมวัย

ผู้ปกครองสามารถประเมินพัฒนาการของบุตรได้

31.00 33.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประเภทกิจกรรม กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กปฐมวัย กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย และการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ กิจกรรมที่ 3 ให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับความปลอดภัยในเด็กปฐมวัย กิจกรรมที่ 4 การคัดกรองพัฒนาการเด็ก (DSPM) รายละเอียดงบประมาณ 1. ค่าอาหารสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 35 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมรับการอบรม 35 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ ุ600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 4. เอกสารประกอบการอบรม 31 คน ๆ ละ 25 บาท/ชุด เป็นเงิน 775 บาท
- สมุด 31 เล่ม ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 310 บาท
- ปากกา 31 ด้าม ๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 155 บาท
- ค่าถ่ายเอกสาร 31 คน ๆ ละ 10 บาท/ชุด เป็นเงิน 310 บาท 5. ค่าป้ายไวนิลขนาด 1.2 X 2.5 ตารางเมตร x 250 บาท เป็นเงิน 750 บาท
6. ค่ากระเป๋าพร้อมสกรีน จำนวน 31 คน ใบละ 75 บาท เป็นเงิน 2,325 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง ยิ้มแย้มแจ่มใส
2. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยในเด็กปฐมวัย
3. ผู้ปกครองสามารถประเมินพัฒนาการของบุตรได้


>