แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069
อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
๑. นางสาวสารีฮากาเดร์
๒. นางสาวแวเยาะมะแซ
๓. นางสาวรอบีย๊ะ ยะโก๊ะ
๔. นางสาวยามีหล๊ะ แตซู
๕. นายมะดาโอะเจะ ปอ
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาพบว่าการตั้งครรภ์ในวัยที่ยังไม่พร้อมมักก่อเกิดปัญหาตามมามากมายทั้งต่อตัวเอง และครอบครัว มีข้อมูลจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พบว่าสภาวะการ ตั้งครรภ์ และคลอดบุตรก่อนวัยอันควรของหญิงอายุต่ำกว่า ๑๕ ปีบริบูรณ์ และหญิงอายุต่ำกว่า ๒๐ ปีบริบูรณ์ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ - ๒๕๕๘ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเกือบทุกปี การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหรือ ท้องวัยทีน คือ การตั้งครรภ์เมื่ออายุ ๑๙ ปี หรืออ่อนกว่านี้ พบร้อยละ ๑๐ – ๓๐ ของการตั้งครรภ์ทั้งหมด นับเป็นปัญหาสาธารณสุข ที่สำคัญ ของทุกประเทศทั่วโลก ใน ๑๐ ปี มานี้เอง ท้องในวัยทีนในประเทศไทยมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น จากร้อยละ ๑๐ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นกว่าร้อยละ ๒๐ ในปัจจุบัน นอกจากนั้นอายุของคุณแม่วัยทีนนับวันยิ่งน้อยลงต่ำสุดพบเพียง ๑๒ ปี ขณะที่ในประเทศสหรัฐอเมริกา แนวโน้มท้องในวัยทีนมีจำนวนลดลงตามลำดับ ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการท้องในวัยทีน ได้แก่ ฐานะยากจน เล่าเรียนน้อย ดื่มสุรา ติดยาเสพติด ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัวและความอยากรู้อยากลองของวัยรุ่น ซึ่งเป็นปัจจัยที่แก้ไขได้ยากมากปัจจุบันตำบลปุโละปุโยยังพบว่าในปี 2562มีจำนวนเด็กที่คลอดจากแม่วัยทีน อายุ 10 –19 ปี คิดเป็นร้อยละ 15 ของการ
คลอดทั้งหมดและตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์หรือท้องก่อนวัยอันควรอยู่ที่ร้อยละ 7 ซึ่งปัญหานี้ส่งผลต่อการทำงานของอนามัยแม่และเด็ก
ทำให้อัตราการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ไม่ผ่านเกณฑ์ เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ (HIV) การทำแท้ง การคลอดบุตรแล้วนำไปทิ้ง เป็นต้น
ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่๕ปาแดลางาตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงดำเนินโครงการการท้องเมื่อพร้อม แก่เด็กและเยาวชน เพื่อเป็นการเสริมสร้างค่านิยมใหม่กับวัยรุ่นไทยให้รู้จักรักและเห็นคุณค่าของตัวเอง เป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ให้ลดน้อยลงหรือหมดสิ้นไปในอนาคตต่อไป
-
1. 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้มีทักษะ และภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศตัวชี้วัด : – เด็กและเยาวชนได้มีทักษะ และภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศร้อยละ ๑๐๐ขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 1.00
-
2. 2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ตระหนักถึงผลของการตั้งครรภ์ในวัยที่ยังไม่พร้อมตัวชี้วัด : – เด็กและเยาวชนได้ตระหนักถึงผลของการตั้งครรภ์ในวัยที่ยังไม่พร้อมได้ร้อยละ ๖๐ขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 1.00
- 1. 1. อบรมให้ความรู้ในการอบรมความพร้อมของการตั้งครรภ์ แก่เด็กและเยาวชนรายละเอียด
- ค่าวิทยากร จำนวน ๒ คนxคนละ๒ชม.xชั่วโมงละ ๖๐๐ บาท = ๒,๔๐๐บาท
- ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม จำนวน ๕๐ คนx ๕๐ บาทxจำนวน ๑ มื้อ = ๒,๕๐๐บาท
- ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน ๕๐ คนx ๒๕ บาทxจำนวน ๒ มื้อ
- =๒,๕๐๐ บาท
- ค่าป้ายโครงการ (กิจกรรมอบรม)ป้ายไวนิล ขนาด ๑.๒x๓ เมตรxจำนวน
๑ ป้าย = ๗๒๐ บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการอบรม= ๑,๘๘๐ บาท
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 8 ก.ค. 2568 ถึง 8 ก.ค. 2568
หมู่ที่ 5 บ้านปาแดลางา ตำบลปุโละปุโย อ.หนองจิก จ.ปัตตานี
รวมงบประมาณโครงการ 10,000.00 บาท
หมายเหตุ : ค่าใช้จ่ายสามารถถัวเฉลี่ยกันได้
๑. เด็กและเยาวชนได้มีทักษะ และภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ ๒. เด็กและเยาวชนได้ตระหนักถึงผลของการตั้งครรภ์ในวัยที่ยังไม่พร้อม
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069
อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069
อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................