กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัยปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา

กลุ่มจิตอาสาผู้ดูแลผู้สูงอายุระยะยาวตำบลยะลา

1. นางรุสนานีมามุ
2. นางหยีด๊ะอูเซ็ง
3. นางคอยรีย๊ะห์เดวอสนุน
4. นางมารีเย๊าะสาแต
5. นางมารียานีเซ็งโซ๊ะ

รพ.สต.บ้านยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.สร้างความตระหนักและองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิงในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ภาพทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น 2. เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ 3. เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้องและง่ายแก่การเข้าใจสำหรับวัยรุ่น 4. เพื่อให้เยาวชนได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นในเรื่องเพศในวัยรุ่น 5. เพื่อพัฒนาเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียนในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน 6. เพื่อลดอัดตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นน้อยกว่าร้อยละ 10
  1. วัยรุ่นมีความเข้าใจในเรื่องเพศที่ถูกต้อง ร้อยละ 100 (จากแบบประเมินตนเองก่อน-หลัง อบรม)
  2. วัยรุ่นมีความภาคภูมิใจในตนเอง และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ร้อยละ 100
  3. วัยรุ่นมีควยามรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้อง ร้อยละ 100
  4. เยาวชนได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นในเรื่องเพศในวัยรุ่น ร้อยละ 100
  5. มีเครื่อข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียน ในรูปแบบเพื่อช่วยเพื่อน ร้อยละ 100
  6. จากตั้งชี้วัดการตั้งครรภ์ในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ร้อยละ 10
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมอบรม

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมอบรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 อบรมให้ความรู้ โดยใช้แผ่นพัน Power Point และซีดีอบรมให้ความรู้สร้างตระหนักและองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าความเป็นชาย/หญิงในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ภาพทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น ในเด็กอายุ น้ัอยกว่า 20 ปี จำนวน 60 คน
งบประมาณดังนี้:- -ค่าตอบแทน...-....บาท x ....-....คน =......-.....บาท -ค่าวิทยากร...300..บาท x 6 ชม. x..1..คน = 1,800.- บาท -ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x 60 คน x 1 มื้อ = 3,600 บาท -ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 2 มื้อ x 60 คน = 3,000 บาท -ค่าวัสดุสำนักงาน 30 บาท x 60 คน = 1,800 บาท -ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ขนาด 1 x 3 เมตร = 1,000 บาท 1.2 กิจกรรมย่อยแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากวัยรุ่นที่มีประสบการณ์ตรง 1.3 กิจกรรมย่อยสรุปผลการอบรม

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. วัยรุ่นมีทักษะและภูมิคุุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
2. เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องเพศ
3. วัยรุ้่นมีความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษามากขึ้น
4. วัยรุ่นสามารถใช้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเรื่องเพศ และสามารถช่วยเหลือเพื่อนในโรงเรียน ในเรื่องปัญหาทางเพศ และสุขภาพได้


>