กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา

กลุ่มจิตอาสาผู้ดูแลผู้สูงอายุระยะยาวตำบลยะลา

1. นางรุสนานีมามุ
2. นางหยีด๊ะอูเซ็ง
3. นางคอยรีย๊ะห์เดวอสนุน
4. นางมารีเย๊าะสาแต
5. นางมารียานีเซ็งโซ๊ะ
6. นางสาวมารีเยาะสาแต
7. นางเจะฮาซือนะมีนาดิง
8. นางคอรีเยาะหนองจิก
9. นางรดียะยาลิง
10. นางอาอีด๊ะมะแซ

รพ.สต.บ้านยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 2. เพื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองขั้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม 3. เพื่อร่วมพัฒนาปัจจัยแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อกรลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
  1. ประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ในแต่ละครั้งของกิจกรรมมากกว่าร้อยละ 80
  2. ประเมินผลพฤติกรรมสุขภาพจากแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพของกรมสนับสนุน บริการสุขภาพ ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เปรียบเทียบก่อน - หลังการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค 3อ2ส ตามวิถีชุมชนบ้านในกลุ่มปกติกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และกลุ่มป่วยในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้องรังของหน่วยบริการ รพ.สต.ยะลา
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในประชากรกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในประชากรกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 กิจกรรมย่อยโดยใช้หลัก 3อ. 2ส. แบ่งออกเป็น 5 ฐาน ฐานที่ 1 อ.อาหาร ฐานที่ 2 อ.ออกกำลังกาย  ฐานที่ 3 อ.อารมณ์ ฐานที่ 4 ส.สูบบุหรี่ ฐานที่ 5 ส.สุรา งบประมาณดังนี้:- -ค่าวิทยากร 300 บาท x 6 ชม. x 1 คน = 1,800.-บาท -ค่าอาหารกลางงัน 60 บาท x 60 คน = 3,600.-บาท -ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 2 มื้อ x 60 คน = 3,000.-บาท -ค่าวัสดุสำนักงาน 2,500.-บาท -ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ขนาด 1 x 3 เมตร = 1,000.-บาท 1.2 กิจกรรมย่อย ติดตามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงหลังได้รับการอบรม

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองขึ้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม
3. สามารถพัฒนาปัจจัยแวดล้อมทีเอื้อำนวยต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน


>