กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการการดูแลและส่งเสริมโภชนาการเด็กตาดีกาบ้านกูตง ปีงบประมาณ2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ

ตาดีกาบ้านกูตง

1.นางสาวลีซ้าม มะดาโอ๊ะ0864080829
2.นายอัมรัน เด็ง0986727670
3.นายอาซมิน อาแวกือจิ0956908897
4.นางสาวรอซีด๊ะ นอ08087393553
5.นางสาวฟาตีเมาะห์ โต๊ะนิ0803176468

ตาดีกาบ้านกูตง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การบริโภคอาหารของเด็กตาดีกายังคงเป็นปัญหา เด็กนักเรียนยังเลือกบริโภคอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการ ที่เกิดจากการขาดความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหาร

 

60.00

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (Well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว และสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไปอย่างไรก็ตามปัญหา การบริโภคอาหารของเด็ก ในตาดีกาก็ยังเป็นปัญหาอยู่จากการได้สำรวจของเด็กในปีที่ผ่านมาเด็กยังประสบเลือกกินอาหารไม่ถูกต้อง ร้อยละ 60 จากการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก ตาดีกาจำเป็นต้องมีการส่งเสริมการเลือกอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการเพื่อที่จะพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่การสมวัยในทุกด้านของชีวิต การแก้ไขปัญหาโดยการส่งเสริมโภชนากการและพัฒนาการเด็กในสถานศึกษา เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง จากสภาพปัญหาดังกล่าวทางโรงเรียนตากาจึงได้จัดทำโครงการการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กตาดีกา เพื่อส่งเสริมสุขภาพของเด็กวัย 1 ปีถึง อายุ 11ปีในโรงเรียนตาดีกา ขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามเด็กทุพโภชนาการของเด็กได้อย่างใกล้ชิด 2.เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบริโภคอาหารเพื่อให้เด็กมีภาวะโภชนาการี่ดี 3.เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการประเมินภาวะโภชนาการได้อย่างต่อเนื่อง

ร้อยละ 80% ของผู้ปกครองและเด็กนักเรียนเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ

80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 126
กลุ่มวัยทำงาน 114
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2020

กำหนดเสร็จ 30/04/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง 2.จัดอบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน

ชื่อกิจกรรม
1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง 2.จัดอบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การดำเนินงาน 1.จัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและครู โดยวิทยากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 2.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ 3. จัดทำทะเบียนขัอมูลเด็กนักเรียน 4.จัดทำแผนการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 5.ประเมินและติดตามหลังทำโครงการ
6.ประเมินและติดตามหลังทำโครงการ รายละเอียดงบประมาณ -อาหารกลางวันผู้ปกครอง50 บาท x 114 คน x 1 มื้อ รวมเป็นเงิน 5,700 บาท -อาหารกลางวันเด็กนักเรียน50 บาท x 126 คน x 1 มื้อ รวมเป็นเงิน 6, 300 บาท -อาหารกลางว่างผู้ปกครอง25 บาท x 114 คน x 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 5,700 บาท -อาหารกลางว่างเด็กนักเรียน25 บาท x 126 คน x 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 6, 300 บาท 3.ค่าวิทยากร 600 บาท x 6 ชั่วโมง x 2 วัน รวมเป็นเงิน 7,200 บาท 4.ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1 x 3 เมตร รวมเป็นเงิน 750 บาท
5.ค่าวัสดุอุปกรณ์ 50 บาท x 126 คน รวมเป็นเงิน 6,300 บาท 6.ค่าแผ่นผับ 30 บาท x 114 คน รวมเป็นเงิน 3,420 บาท รวมเงินทั้งสิ้น 41,670 บาท( สี่หมื่นสามร้อยห้าสิบบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
41670.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 41,670.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ร้อยละ 80 ของเด็กเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
2. ร้อยละ 80 เด็กนักเรียนได้รับการประเมินภาวะโภชนาการและมีภาวะโภชนาการดี


>