กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลโคกชะงาย

1. นายนิตย์ ขวัญพรหม
2. นางสาวรัตนา กาญจนสิงห์
3. นางหนูอั้น ไข่ทอง
4. นางอุไร พงค์จันทรเสถียร
5. นายชรินทร์ หนูเกื้อ

ตำบลโคกชะงาย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

2.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

2.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

2.00
4 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

 

2.00
5 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

2.00
6 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

 

2.00
7 ร้อยละของกิจกรรมในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

 

2.00
8 ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายเช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

 

2.00

ความเจริญทางวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี การขยายตัวของสังคมเมือง และการเข้าสู่ยุคโลกาภิวัฒน์ ทำให้ประชาชนมีวิถีและพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป มีรูปแบบชีวิตที่ยุ่งเหยิง
เร่งรีบให้ความสำคัญกับการแข่งขันและการทำงาน ใช้เวลาไปกับกิจกรรมที่เคลื่อนไหวน้อย และมีพฤติกรรมเนือยนิ่งเพิ่มมากขึ้นทั้งในการนั่งประชุม ดูโทรทัศน์ ใช้โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และมีกิจกรรมทางกาย ในชีวิตประจำวันลดลง ซึ่งล้วนส่งผลลบต่อสุขภาพอนามัย เศรษฐกิจ และสังคม ทั้งของประชาชนและประเทศ
ประชากรวัยทำงานและวัยสูงอายุ เป็นวัยที่สำคัญต่อการพัฒนาครอบครัว สังคมและประเทศชาติมีบทบาทขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เป็นผู้นำครอบครัวปัจจุบันประชากรกลุ่มวัยทำงานและสูงอายุ มีแนวโน้มจะมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น ด้วยการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง สาเหตุเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม ทั้งพฤติกรรมบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ และการดื่มแอลกอฮอล์
การเพิ่มกิจกรรมทางกายส่งผลให้ประชากรวัยทำงานและวัยผู้สูงอายุลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ที่จะต้องทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ดังนั้นศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลโคกชะงายจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายคือวัยทำงานและวัยสูงอายุได้เพิ่มกิจกรรมทางกายเพื่อลดภาวะเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรังในอนาคตได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

2.00 200.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

2.00 100.00
3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

2.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 250
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2019

กำหนดเสร็จ 31/07/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ค่าตอบแทนวิทยากร วันละ 1 ชม. ๆ ละ 300 บาท จำนวน 30 วัน เป็นเงิน 9,000 บาท
  • ค่าครุภัณฑ์ไฟฟ้า (ลำโพงบลูทูธ) เป็นเงิน 10,000 บาท
  • วัสดุ/ครุภัณฑ์เวที เป็นเงิน 10,000 บาท
  • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 2 X 3 เมตร ตร.ม. ละ 180 บาท เป็นเงิน 1,080 บาท
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30080.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,080.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

- ประชาชนมีกิจกรรมทางกาย
- มีแกนนำโดยเครือข่ายผู้สูงอายุในการออกกำลังกาย


>