กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเกษตรกรใส่ใจดูแลสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี

กลุ่ม อสม.

1.นางจันทิยาพันทบุรี
2.นางฟารีดะห์แวกะจิ
3.นางวนิดาเจะมะ
4.นายแวอาแซสาดี
5.นาง

อาคารอเนกประสงค์ อบต.ยาบี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานแรงงานนอกระบบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เกษตรกร เป็นอาชีพหนึ่งที่ทำงานเกี่ยวกับการเกษตร เป็นการเพาะปลูกพืชต่างๆ ในสวนและไร่นา รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์และการประมง เพื่อผลิตเป็นอาหาร เส้นใยธรรมชาติ และเชื้อเพลิงต่าง ๆ อันเกิดมาจากการเกษตรกรรม ในปัจจุบันพบว่าแรงงานร้อยละ 42 ของโลกประกอบอาชีพเกษตรกร กระบวนการเกษตรกรรมนั้น มีลักษณะของการทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพหลายปัจจัย ซึ่งความเสี่ยงอันตรายด้านโรคจากการประกอบอาชีพภาคเกษตรกรรม เช่น ความเสี่ยงอันตรายจากปัจจัยทางเคมีความเสี่ยงอันตรายจากปัจจัยทางชีวภาพ ความเสี่ยงอันตรายจากปัจจัยทางกายภาพและความเสี่ยงอันตรายจากปัจจัยทางจิตวิทยาสังคม ตำบลยาบี มีลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม มีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึง ร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ทั้งหมดเหมาะสำหรับการประกอบอาชีพเกษตรกรรมประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทำนาเป็นอาชีพหลัก รองลงมาคือทำสวนยางพารา สวนปาล์ม สวนผลไม้ เป็นต้น ซึ่งอาชีพเหล่านี้ล้วนแล้วมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ ทั้งด้านร่างกาย การบาดเจ็บกล้ามเนื้อและข้ออาการอ่อนเพลียจากความร้อนและความเสี่ยงต่อการถูกสัตว์มีพิษกัดและอาจส่งผลต่อระบบไหลเวียนเลือดจากการใช้ยากำจัดศัตรูพืชหากไม่ได้มีการป้องกันอย่างถูกวิธี จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนังระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า ร่างกายจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเพียงไหน โดยส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่าง ๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น
กลุ่ม อสม.ตำบลยาบี ได้เห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับการป้องกันอันตรายจากการประกอบอาชีพในกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้เกิดความปลอดภัย ตลอดจนทำให้เกษตรกรตำบลยาบีมีสุขภาพที่ดีประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจัดโครงการเกษตรกรใส่ใจสุขภาพ ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมี

เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80

50.00 100.00
2 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ

2.เกษตรกรเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30

50.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/07/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 กรกฎาคม 2563 ถึง 3 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9425.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมตำบลยาบี

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมตำบลยาบี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมสำรวจข้อมูลความเสี่ยงและภัยคุกคามจากการประกอบอาชีพของกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมตำบลยาบี

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
900.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือด

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือด

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 กรกฎาคม 2563 ถึง 13 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรอง,การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรอง,การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการคัดกรอง,การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 กรกฎาคม 2563 ถึง 13 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8300.00

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมติดตามกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มที่ตรวจพบสารตกค้างในเลือด

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มที่ตรวจพบสารตกค้างในเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมติดตามกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มที่ตรวจพบสารตกค้างในเลือด

ระยะเวลาดำเนินงาน
31 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
450.00

กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมถอดบทเรียนและเวทีคืนข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมถอดบทเรียนและเวทีคืนข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมถอดบทเรียนและเวทีคืนข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมาย

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 กันยายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 26,975.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เกษตรกรมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้นร้อยละ 30


>