กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน ปีงบประมาณ 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพวังประจัน

1…นายวัฒนชัย ไชยจิตต์…………………
2…นางสาวมารียา สุขสง่า............……
3…นางรสนาบินหมาน…………………
4…นางวนิดาศรีริภาพ………………..
5…นางอภิยา เหตุทอง……………………..

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
จากการที่รัฐบาลมีนโยบาลพัฒนาประเทศไทยให้เป็น“ประเทศไทย 4.0 ” (Thailand 4.0 ) โดยมุ่งเน้นการขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาเป็นเครื่องมือในการส่งเสริมกระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ยกระดับคุณภาพการให้บริการสาธารณสุขแก่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตามนโยบาลรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข “ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ร่างกายแข็งแรง ทำให้เศรษฐกิจประเทศแข็งแรง ” กระทรวงสาธารณสุขได้จัดทำยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข ) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ตั้งเป้าหมายให้ “เป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ ” โดยมีการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพ ในทุกช่วงวัย โดยมีการเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี ครอบคลุมทั้งด้านกาย ใจ สติปัญญาและสังคม โดย ประกอบไปด้วย 1. การส้รางความรอบรู้ด้านสุขภาวะ 2. การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ 3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี 4. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการส้รางสุขภาวะที่ดี 5. การส่งเสริมให้ชุมชนเป็นฐานในการสร้างสุขภาวะที่ดีในพื้นที่
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน เพื่อพัฒนาศักยภาพ เพิ่มขีดความสามารถของ นักจัดการสุขภาพ.ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ให้ประชาชนทุกครัวเรือนสามารถเข้าถึงการบริการทางการแพทย์ได้อย่างทั่วถึง ให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ลดความแออัด ลดความเหลื่อมล้ำ ไร้รอยต่อ ลดการรอคอย และลดค่าใช้จ่าย รวมถึงการให้ความรู้ด้านสมุนไพรที่ถูกต้องแก่ประชาชน ได้แก่ 1.วิชา อสค.และบทบาท นักจัดการสุขภาพ.หมอประจำบ้าน 2.วิชาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่ 3.วิชาส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ 4.วิชาภูมิปัญญาไทย สมุนไพร และการใช้กัญชาทางการแพทย์ 5.วิชาเทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม และแอปพลิเคชันด้านสุขภาพ และ 6.การเป็นผู้นำการสร้างสุขภาพแบบมีส่วนร่วม โดยมีการสนับสนุนให้มีอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ทุกครอบครัวทั้งในกลุ่มที่มีผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง กลุ่มภาวะพึ่งพิงและกลุ่มครอบครัวทั่วไปในละแวกบ้านของ นักจัดการสุขภาพ หมอประจำบ้าน เป็นพี่เลี้ยงให้ อสค.ดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่ ลดโรคเรื้อรัง ปัญหาสุขภาพจิต อุบัติเหตุ ใช้เครื่องมือสื่อสาร และเป็นการแกนในการดูแลสุขภาพ เพื่อมุ่งหวังให้ประชาชนมีสุขภาพดี แข็งแรง พึ่งพาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพ นักจัดการสุขภาพ 4.0ให้เป็น หมอประจำบ้าน
  1. ร้อยละ70 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องอสค.
  2. ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการ ที่มีความรู้เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่
  3. ร้อยละ70ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ
  4. ร้อยละ70ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย สมุนไพร และการใช้กัญชาทางการแพทย์
  5. ร้อยละ70ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องเทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ และแอปพลิเคชันด้านสุขภาพ
  6. ร้อยละ80ของนักจัดการสุขภาพเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดทำแนวทางการดำเนินงานพัฒนา นักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน

ชื่อกิจกรรม
จัดทำแนวทางการดำเนินงานพัฒนา นักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 จัดประชุมบูรณการ ชี้แจงโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมบูรณการ ชี้แจงโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 กำหนดขอบเขตเนื้อหาในการพัฒนา นักจัดการสุขภาพ สู่หมอประจำบ้าน

ชื่อกิจกรรม
กำหนดขอบเขตเนื้อหาในการพัฒนา นักจัดการสุขภาพ สู่หมอประจำบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 พัฒนาและจัดหาเครื่องมือเพื่อใช้ในการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาและจัดหาเครื่องมือเพื่อใช้ในการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เครื่องมือดิจิตอลสำหรับพัฒนาศักยภาพ นักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน ประกอบด้วย 1.  Application สมาร์ท อสม.
2.  อสม.ออนไลน์

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 จัดอบรมให้ความรู้หลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน จำนวน 2 วัน

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้หลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน จำนวน 2 วัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบรมให้ความรู้หลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน จำนวน 2 วัน -ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท จำนวน 59 คน x 2 วัน เป็นเงิน 5,900 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x จำนวน 59 คน x 2 วัน เป็นเงิน 2,950 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 4 ชั่วโมง x 300 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 2,700 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 12,750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ร้อยละ70 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องอสค.
  2. ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการ ที่มีความรู้เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่
  3. ร้อยละ70ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ
  4. ร้อยละ70ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย สมุนไพร และการใช้กัญชาทางการแพทย์
  5. ร้อยละ70ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องเทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ และแอปพลิเคชันด้านสุขภาพ
  6. ร้อยละ80ของนักจัดการสุขภาพเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12750.00

กิจกรรมที่ 6 ดำเนินการฝึกภาคปฏิบัติงานตามหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินการฝึกภาคปฏิบัติงานตามหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ดำเนินการฝึกภาคปฏิบัติงานตามหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ 4.0 สู่หมอประจำบ้าน -ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท xจำนวน 59 คน x 3 วัน เป็นเงิน 8,850 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x จำนวน 59 คน x 3 วัน เป็นเงิน 4,425 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 13,275 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ร้อยละ70 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องอสค.
  2. ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการ ที่มีความรู้เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่
  3. ร้อยละ70ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ
  4. ร้อยละ70ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย สมุนไพร และการใช้กัญชาทางการแพทย์
  5. ร้อยละ70ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องเทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ และแอปพลิเคชันด้านสุขภาพ
  6. ร้อยละ80ของนักจัดการสุขภาพเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13275.00

กิจกรรมที่ 7 ประเมิณผล และสรุปบทเรียนการดำเนินกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
ประเมิณผล และสรุปบทเรียนการดำเนินกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 26,025.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ร้อยละ70 ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องอสค.
2. ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการ ที่มีความรู้เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่
3. ร้อยละ70ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ
4. ร้อยละ70ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย สมุนไพร และการใช้กัญชาทางการแพทย์
5. ร้อยละ70ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องเทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ และแอปพลิเคชันด้านสุขภาพ
6. ร้อยละ80ของนักจัดการสุขภาพเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา


>