กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการดำเนินงานและบริหารจัดการการแพทย์ฉุกเฉินฯ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง

องการค์บริหารส่วยตำบลเรือง

ห้องประชุมโรงเรียนราษฏร์อุปถัมภ์ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๒ อวค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล มาตรา ๖๗ (๔) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๐มาตรา ๒๐, ๒๑ พระราชบัญญัติกำหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๖ (๒๙) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๓๓ วรรคสอง บัญญัติไว้ว่าเพื่อส่งเสริมการมีบทบาทตามความพร้อมและความจำเป็นของประชาชนในท้องถิ่น ใหคณะกรรมการแพทย์ฉุกเฉิน (กพฉ) สนับสนุนและประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงารและบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยอาจได้รับการอุดหนุนจากกองทุน และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจใหแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๖ ( ๑๙ ) กำหนดให้ เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจ และหน้าที่ในการจัดระบบการบริหารสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง เรืองการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล และมาตรา ๑๗ (๑๙) กำหนดให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอำนาจหน้าที่ในการจัดให้มีโรงพยาบาลจังหวัด การรักษาพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน ไม่ว่าเป็นการรักษาใสถานพยาบาลหรือนอกสถานพยาบาลและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕๕ กำหนดไว้ว่า รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึงเสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคและส่งเสริมสนับสนุนให้มีการพัฒนาภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทย ให้เกิดประโยชน์สูงสุด บริการสาธารณสุขตามวรรคหนึ่งต้องครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ารควบคุม และป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพด้วย รัฐต้องพัฒนาการบริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพและมาตรฐานสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เรียง ได้มุ่งหวังที่จะให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่รับผิดชอบ ที่ป่วยด้วยโรคปัจจุบันหรือประสบอุบัติเหตุสามารถเข้าถึงสถานพยาบาล หรือสามารถรับการส่งต่อไปยังสถานพยาบาลที่มีศักยภาพไดอย่างทั่วถึง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๒.๑ เพื่อพัฒนาควมรู้ ความสามารถและฝึกทักษะให้กับอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรืนผู้ปฏิบัติงานกู้ชีพกู้ภัยให้สามารถช่วยเหลือ ปฐมพยาบาลผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน อุบัติเหตุ ได้อย่างถูกวิธีและทันท่วงที ๒.๒ เพื่อเพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่กู้ชีพ ตำบลเรียง ให้เพียงพอต่อการปฎิบัติงาน ๒.๓ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทั้งในยามปกติและภาวะฉุกเฉินให้สามารถช่วยเหลือผู้ป่วย ผู้ได้รับอุบัติเหตุบาดเจ็บหรือผู้ประสบภัพต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วปลอดภัย ถูกต้องตามหลักวิชาการ ๒.๔ เพื่อลดอัตราการสูญเสียและลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั่งทางร่างกายและจิตใจ การบาดเจ็บ และทุพลภาพ แก่ประชาชนผู้ประสบสาธารณภัยในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเรียง ๒.๕ เพื่อจัดบริการการแพทย์ก่อนส่งโรงพยาบาลตลอด ๒๔ ชั่วโมง ๒.๖ เพื่อเป็นการสร้างหลักประกันถึงความปลอดภัยของประชาชนเมื่อเกิดการเจ็บป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุ ๒.๗ ลำเลียง ยกและเคลื่อนย้ายผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้อย่างเหมาะสมและถูกวิธี ๒.๘ ให้การช่วยเหลือขั้นตัน ณ จุดเกิดเหตุได้อย่างถูกต้อง เช่น การดูแลทางเดินหายใจ การห้ามเลือดการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นฐาน เป็นต้น ๒.๙ ตระหนักและสามารถติดต่อประสานงาน รวมทั่งร่วมมือกับหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่สูงกว่าเพื่อขอรับการช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม

๒.๑ เพื่อพัฒนาควมรู้ ความสามารถและฝึกทักษะให้กับอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรืนผู้ปฏิบัติงานกู้ชีพกู้ภัยให้สามารถช่วยเหลือ ปฐมพยาบาลผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน อุบัติเหตุ ได้อย่างถูกวิธีและทันท่วงที ๒.๒ เพื่อเพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่กู้ชีพ ตำบลเรียง ให้เพียงพอต่อการปฎิบัติงาน ๒.๓ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทั้งในยามปกติและภาวะฉุกเฉินให้สามารถช่วยเหลือผู้ป่วย ผู้ได้รับอุบัติเหตุบาดเจ็บหรือผู้ประสบภัพต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วปลอดภัย ถูกต้องตามหลักวิชาการ ๒.๔ เพื่อลดอัตราการสูญเสียและลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั่งทางร่างกายและจิตใจ การบาดเจ็บ และทุพลภาพ แก่ประชาชนผู้ประสบสาธารณภัยในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเรียง ๒.๕ เพื่อจัดบริการการแพทย์ก่อนส่งโรงพยาบาลตลอด ๒๔ ชั่วโมง ๒.๖ เพื่อเป็นการสร้างหลักประกันถึงความปลอดภัยของประชาชนเมื่อเกิดการเจ็บป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุ ๒.๗ ลำเลียง ยกและเคลื่อนย้ายผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้อย่างเหมาะสมและถูกวิธี  ๒.๘ ให้การช่วยเหลือขั้นตัน ณ จุดเกิดเหตุได้อย่างถูกต้อง เช่น การดูแลทางเดินหายใจ การห้ามเลือดการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นฐาน เป็นต้น ๒.๙ ตระหนักและสามารถติดต่อประสานงาน รวมทั่งร่วมมือกับหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่สูงกว่าเพื่อขอรับการช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการดำเนินงานและบริหารจัดการแพทย์ฉุกเฉินหลักสูตรการ

ชื่อกิจกรรม
โครงการดำเนินงานและบริหารจัดการแพทย์ฉุกเฉินหลักสูตรการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขอสนับสนุนงบประมาณจากจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส เป็นเงิน ๙๙,๖๐๐ บาท (เก้าหมื่นเก้าพันหกร้อยบาทถ้วน) รายละเอียดดังต่อไปนี้ จัดอบรมอาสากู้ชีพในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อพัฒนาความรุ้ ศักยภาพ อาสาสมัครกู้ชีพ รายใหม่ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำรพ.สต. จำนวน ๕๐ คน รายละเอียด ดังนี้ - ค่าสมนาคุณวิทยากรเดี่ยวรายวิชา ๖๐๐บาท x ๑๕ ชั่วโมง เป็น ๙,๐๐๐ บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่มรายกลุ่ม ๖๐๐ บาท x ๒๔ ชั่วโมง x ๔ คน เป็นเงิน ๕๗,๖๐๐ บาท - ค่าของสมนาคุณในการใช้สถานที่จัดอบรม เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บาท x ๒ มื้อ x ๕ วัน x ๕๐ คน เป็น ๑๒,๕๐๐ บาท - ค่าอาหารกลางวัน ๕๐ บาท x ๕ มือ x ๕๐ คน เป็นเงิน ๑๒,๕๐๐ บาท - ค่าวัสดุในการจัดอบรมเป็นเงิน๕,๐๐๐ บาท - ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการขนาด ๑.๕ x ๓ เมตร เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๙๙,๖๐๐ บาท ( เก้าหมื่นเก้าพันหกร้อยบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
26 พฤศจิกายน 2562 ถึง 1 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
99600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 99,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินในชุมชนได้รับการช่วยเหือโดยหน่วยกู้ชีพที่มรประสิทธิภาพ รวดเร็วทันเวลา
ลดการบาดเจ็บ และอัตราการเสียชีวิตก่อนมาถีงโรงพยาบาล โดยได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงบริการ ๑๖๖๙ ตลอด ๒๔ ชั่วโมง


>