กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการ ส่งเสริมและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพในชุมชน หมู่ที่ 9 บ้านนาปริก อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2563

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ ส่งเสริมและป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพในชุมชน หมู่ที่ 9 บ้านนาปริก อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน

ชมรมอาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 9 บ้านนาปริก

1.นายก็หลัด บินหมาน
2.นายสอหมาด มาลินี
3.นางหยำ บินหมาน
4.นางฝาตีม๊ะ แก้วคงศรี
5.นางสาวกฤษณา โต๊ะฝา

หมู่ที่ 9 บ้านนาปริก ต.ควนโดน อ.ควนโดน จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานแรงงานนอกระบบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หมู่ที่ 9 บ้านนาปริก ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ส่วนใหญ่มีอาชีพทำสวนยางพารา การทำสวนยางพาราเป็นอาชีพที่ต้องใช้แรงงาน และความอดทนทุกขั้นตอน เริ่มตั้งแต่การปลูกยางพารา
มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การใส่ปุ๋ย การกรีดยาง รวมถึงการผลิตยางแผ่น ทำให้วิถีชีวิตของเกษตรกรสวนยางพาราแตกต่างจากการดำรงชีวิตตามปกติ ทำให้เกษตรกรสวนยางพารามีความเสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ การถูกสัตว์ร้ายหรือสัตว์มีพิษกัดต่อยในขณะทำงาน การทำงานด้วยท่าทางที่ไม่เหมาะสมในการกรีดยางพารา หรือกระบวนการผลิตที่ใช้เวลานานจากการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพการทำงานของเกษตรกรสวนยางพาราและเกษตรกรต้องอดทน อดหลับอดนอน นอนไม่เป็นเวลา ทำให้ร่างกายพักผ่อนไม่เพียงพอและยังส่งผลต่อสุขภาพจิตของเกษตรกรได้อีกด้วย จากการที่เกษตรกรสวนยางพาราต้องเผชิญกับปัญหาทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม ดังกล่าวข้างต้น
การดูแลสุขภาพเกษตรกรสวนยาง จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่จะสามารถลดหรือชะลอการเกิดปัญหาจากการทำงานของเกษตรกรสวนยางพาราได้ ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 9 บ้านนาปริก ตำบลควนโดน จึงเล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริม ป้องกันโรค และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ จึงมีการจัดทำโครงการส่งเสริม ป้องกันโรค และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพแก่ชาวบ้านหมู่ที่ 9 บ้านนาปริก ต.ควนโดน จ.สตูล ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันอาการเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการทำงาน

ผู้ผ่านการอบรมมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันอาการเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการทำงานได้ ร้อยละ 80

80.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในชุมชน การออกกำลังกายด้วยท่าทางที่เหมาะสม และฝึกปฎิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในชุมชน การออกกำลังกายด้วยท่าทางที่เหมาะสม และฝึกปฎิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
2.ชี้แจงโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องและแต่งตั้งคณะทำงาน
3.ประชาสัมพันธ์โครงการ
4.อบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในชุมชนกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่เกิดจาก การประกอบอาชีพในชุมชน เช่น ปวดเมื่อย โดนสัตว์มีพิษกัด เป็นลม ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยท่าทางที่เหมาะสม และฝึกปฎิบัติการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นกรณีที่ได้รับการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพ
ค่าอาหารกลางวัน 80 คน50 บาทเป็นเงิน 4,000 บ . ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม80 คน25 บาท2 มื้อเป็นเงิน 4,000 บ.
ค่าตอบแทนวิทยากร 6 ชม.
300 บ.จำนวน 2 คนเป็นเงิน 3,600 บ.
ค่าไวนิล 500 บ.
รวมเป็นเงิน12,100 บาท
5.สรุปผลการปฏิบัติงานตามโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในชุมชน ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยท่าทางที่เหมาะสม และฝึกปฎิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้นกรณีที่ได้รับการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนหมู่ที่ 9 บ้านนาปริก ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล มีความรู้เรื่องโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในชุมชน สามารถออกกำลังกายเพื่่อลดอาการปวดเมื่อยจากท่าทางของการทำงานที่ซ้ำซาก หรือท่าเดิมเป็นระยะเวลานาน ฝึกปฎิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เช่น การดูแลตนเองเพื่อป้องกันการใช้สารเคมี การป้องกันตนเองจากอุบัติเหตุของการกรีดยาง และการป้องกันตนเองจากแมลงหรือสัตว์มีพิษ และรวมถึงพฤติกรรมการดูแลตนเองจากการใช้สารเคมีที่ไม่เหมาะสม จากการประกอบอาชีพได้


>