กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หมู่ 2 บ้านหาญ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว

อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ 2 บ้านหาญ

นาย บาโหรน เส็นหมาน
นางสาวรออัน เตบเส็น
นางสาวสายใจ เตบเส็น
นายตอเหตุ เกษม
นายประสิทธิ์ งาหอม

หมู่ 2 บ้านหาญ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

75.00

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น "ภัยเงียบ" เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมากจากจำนวนผู้ป่วยความดันเบาหวานในปีงบประมาณ2562ที่ผ่านมามีจำนวนผู้ป่วยในหมู่ที่ 2ผู้ป่วยเบาหวาน มี 16 คนและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมี 57 คนดังนั้นอาสาสมัครประจำหมู่บ้านจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองความดันเบาหวานขึ้นเพื่อคนในชุมชนได้รับการดูแลสุขภาพและการรักษาอย่างทันท่วงที

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รับการคัดกรองสุขภาพอย่างน้อยปีละ1ครั้ง

 

0.00

เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รับการคัดกรองสุขภาพอย่างน้อยปีละ1ครั้ง 50%

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 19/12/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงเกี่ยวกับโครงการให้กับ อสม.

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงเกี่ยวกับโครงการให้กับ อสม.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมชี้แจงการดำเนินงานให้แก่ อสม. ทุกคนในหมุ่บ้าน -ค่าอาหารว่าง 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน12 คน300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อสม.ทุกคนแบ่งหน้าที่รับผิดชอบแต่ละเขตพื้นที่และเช็คจำนวนเป้าหมายรับผิดชอบของตนเอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
300.00

กิจกรรมที่ 2 คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่อาคารอเนกประสงค์

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่อาคารอเนกประสงค์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คัดกรองสุขภาพเบื่องต้น(ชั่งนำ้หนัก/วัดส่วนสูง/วัดรอบเอว คัดกรองเบาหวาน -ชุดตรวจระดับนำ้ตาลในเลือด ชุดละ 30 บาท จำนวน 180 คนเป็นเงิน 5,400 บาท คัดกรองโรคความดับโลหิตสูง -เครื่องวัดความดันสูง แบบที่พันแขนขนาดใหญ่1 เครื่อง 3,500บาท อาหาร 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน 180 คน เป็นเงิน 4,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,700.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.คนในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพ
2.คนในชุมชนได้เข้าถึงการรักษาและป้องกันอย่างทันท่วงที
3.คนในชุมชนได้มีสุขภาพที่ดีห่างไกลจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง


>