กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการโภชนาการในวัยเด็ก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๙

1.นางสาวลีเยาะ ดอนิ
2..นางแมะสงดอนิ
3. นางสุกัลญา คางา
4.นางคอลีเยาะแวนิ
5.นางสาวแวแยหะยีมาหนุ

หมู่ที่ 9 ตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โภชนาการในเด็กแรกเกิด 0 -6 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว เช่น ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้านก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต พัฒนาการเด็กเกิดจากปัจจัยการเปลี่ยนแปลงในหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันให้หมด เช่น เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ แต่ในตรงกันข้ามกันเด็กที่มีสุขภาพที่ไม่สมบูรณ์ดีนัก มักประสบปัญหาในด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้า หรือหยุดชะงักชั่วขณะ อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการซึมเศร้าปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้ในสิ่งต่างๆ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ได้แหล่งเห็นความสำคัญถึงภาวะการขาดทุพโภชนาการต่ำในวัยเด็กของคนในพื้นที่ และเน้นสุขภาพและโภชนาเด็กในชุมชน จึงได้กำหนดจัดโครงการโภชนาการในวัยเด็ก 0 – 6 ปี ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้พ่อและแม่เด็กมีความรู้ความเข้าใจในด้านโภชนาต่างๆมากยิ่งขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ๐-๖ ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมอง

เด็ก ๐-๖ ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมอง

30.00 1.00
2 เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้เรื่องโภชนาการและพัฒนาการของเด็ก

ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้เรื่องโภชนาการและพัฒนาการของเด็ก

30.00 1.00
3 เพื่อลดปัญหาขาดโภชนาการ ในเด็ก ๐-๖ ปี

ลดปัญหาขาดโภชนาการในเด็ก ๐-๖ ปี

40.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมเรื่องโภชนาการและพัฒนาการของเด็ก

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมเรื่องโภชนาการและพัฒนาการของเด็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.  ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๖๐ คน x ๕๐ บาท x จำนวน ๑ มื้อ = 3000 บาท ๒.  ค่าอาหารว่าง จำนวน ๖๐ คน¬ x ๒๕ บาท x จำนวน  ๒ มื้อ =3000 บาท ๓.  ค่าป้ายโครงการ(กิจกรรมอบรม) ป้ายไวนิลขนาด ๑.๒X๓ เมตรX ๑ ป้าย = 720 บาท
๔.  ค่าวิทยากร จำนวน ๑ คน Xชม.ละ ๖๐๐บาท x ๖ ชม. = 3600 บาท ๕.  ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการอบรม = 2500 บาท ๖.  ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการเสริมโภชนาการและพัฒนาการของเด็ก = 2180 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.  อัตราน้ำหนักต่ออายุตามเกณฑ์ในเด็ก ๐ – ๖ ปี ของ รพ.สต.บ้านคลองควน เพิ่มขึ้น ๒.  อัตราส่วนสูงต่ออายุตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูง และสูงกว่าเกณฑ์รวมกันในเด็ก ๐-๖ ปี ๓.  ชุมชนมีความรู้ ความสามารถและมีส่วนร่วมในการดำเนินการแก้ไขปัญหาเด็ก ๔.  ลดปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก ๐-๖ ปี ๕.  ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้เรื่องโภชนาการและพัฒนาการของเด็ก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ค่าใช้จ่ายสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. อัตราน้ำหนักต่ออายุตามเกณฑ์ในเด็ก ๐ – ๖ ปี ของ รพ.สต.บ้านคลองควน เพิ่มขึ้น
๒. อัตราส่วนสูงต่ออายุตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูง และสูงกว่าเกณฑ์รวมกันในเด็ก ๐-๖ ปี
๓. ชุมชนมีความรู้ ความสามารถและมีส่วนร่วมในการดำเนินการแก้ไขปัญหาเด็ก
๔. ลดปัญหาทุพโภชนาการในเด็ก ๐-๖ ปี
๕. ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้เรื่องโภชนาการและพัฒนาการของเด็ก


>