กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม หมู่ที่ 8 บ้านตกเขา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย

ชมรม อสม. หมู่ที่ 8 บ้านตกเขา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ พบมากในวัยกลางคนและผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมาก ถ้าไม่ได้รับการรักษา หรือปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม โรคจะดำเนินไปอย่างเรื่อยๆ อาจทำให้มีความเจ็บปวด ข้อเข่าผิดรูป เดินได้ไม่ปกติ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ ก็ทำได้ไม่สะดวก จะมีความทุกข์ทรมานทั้งด้านร่างกายและจิตใจ หากผู้ที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมมีความรู้สามารถดูแลตัวเองได้เพื่อชะลอความเสื่อมหรือบรรเทาอาการของข้อเข่าเสื่อม ก็จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะยาว

จากรายงานผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ พบว่ากลุ่มโรคระบบกล้ามเนื้อ ข้อ กระดูก มีอัตราเพิ่มขึ้นทุกปี และเป็นปัญหามาอยู่ในอันดับต้นๆ

กลุ่มชมรม อสม. บ้านตกเขา พบว่าจำนวนผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมเมื่อเทียบกับผู้ป่วยเข้ารับบริการรักษาด้วยโรคหัตถบำบัดทั้งหมด คิดเป็นสัดส่วน 2 :5 การเฝ้าระวัง และคัดกรองผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม จึงนับว่ามีความสำคัญที่จะช่วยให้ผู้ป่วยมีความรู้ สามารถใช้ป้องกันการเกิดโรคนี้

ชมรม อสม. บ้านตกเขา จึงได้จัดทำโครงการการเฝ้าระวังและคัดกรองผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมในประชาชนอายุ 35 ปี

ประชาชน 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองข้อเข่าเสื่อมร้อยละ 50

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม

ประชาชนสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง

0.00
3 เพื่อให้ประชาชนที่มีอาการปวดเข่า ได้รับการรักษาตามศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการรักษาแบบบูรณาการ

ประชาชนที่มีอาการปวดเข่าได้รับการรักษาที่ถูกต้อง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีอาการปวดเข่า

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีอาการปวดเข่า
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8850.00

กิจกรรมที่ 2 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,650.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม
2.ประชากรได้รับความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม
3.ประชากรมีอาการปวดเข่าได้รับการรักษาและบรรเทาอาการปวดเข่าแบบบูรณาการตามหลักการแพทย์แผนไทย


>