กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร รหัส กปท. L2477

อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมการดูแลรักษาข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย และการใช้ยาสมุนไพรพื้นบ้านตำบลผดุงมาตร ปี 2563
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
รพ.สตผดุงมาตร
3.
หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันพบว่าจำนวนผู้มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทย พบผู้ป่วยที่เป็นโรคเข่าเสื่อมประมาณ 1 ใน 3 ของผู้มารับบริการในเวลา 1 เดือนที่ผ่านมา พบมากในผู้สูงอายุ วัยกลางคนตามลำดับ ข้อเข่าเสื่อมหรือโรคข้อเข่าเสื่อม เป็นความผิดปกติของข้อ ที่เกิดจากกระดูกอ่อนของเข่ามีการเสื่อมสภาพหรือถูกทำลาย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างของข้อ ได้แก่ มีน้ำในข้อสะสมเพิ่มมากขึ้น กระดูกงอกผิดปกติ กล้ามเนื้อ และเอ็นรอบข้อหย่อนยาน ซึ่งมีผลทำให้การเคลื่อนไหวของข้อมีอาการปวด และบวม เวลาเดินจะเจ็บข้อเข่า ซึ่งส่งผลทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมบางอย่างได้อาทิ เช่นการเดิน การวิ่ง นั่งยอง ๆ ขึ้นลงบันได ซึ่งพบว่าคนที่เป็นโรคเหล่านี้ทำได้ลำบาก จึงทำให้คุณภาพการดำเนินชีวิตลดลง และยังเหนียวนำให้เกิดโรคอื่น ๆ ตามมาอาทิ เช่นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เนื่องด้วยผู้ป่วยออกกำลังไม่ได้ เพราะทำให้เกิดอาการปวดเข่า บวม เข่าฝืดยึด มีเสียงดังในเข่า ความรุนแรงมากน้อยต่างกันไป สาเหตุมีได้หลายประการ เช่น ผลสะสมจากความเสื่อม และการใช้ข้อเข่าที่ไม่ถูกต้องตั้งแต่วัยหนุ่มสาว น้ำหนักตัวมาก ทำให้เข่าต้องรองรับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นหลายเท่าในทุกขณะที่ก้าวเดิน หรือได้รับอุบัติเหตุบริเวณข้อเข่ามาก่อน บางรายเคยมีการอักเสบติดเชื้อ หรือเป็นโรคไขข้อ บางชนิด เช่น โรครูมาตอยด์ เป็นต้น ในปัจจุบันพบว่ามีการใช้ยาในการรักษาภาวะข้อเสื่อมนี้เป็นจำนวนมากรองจากยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) โดยเฉพาะยาแก้อักเสบในกลุ่ม NSAIDs (Non-Steroid Anti-inflammatory Drugs) ซึ่งมีผลเสียในการก่อให้เกิดปัญหาเรื่องแผลในกระเพาะอาหาร จากรายงานอุบัติการณ์ของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมพบประมาณ 1 ใน 3 หรือคิดเป็นร้อยละ 34.5 - 45.6 ของประชากรทั้งประเทศ
ดังนั้น งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตร จึงเห็นความสำคัญในการจัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลรักษาข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย และการใช้ยาสมุนไพรพื้นบ้าน โดยการส่งเสริมให้ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย เช่นการประคบ การนวดพื้นฐานในการดูแลรักษาเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ และพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรพื้นบ้าน เพื่อลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน อนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้าน และส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการด้านการแพทย์แผนปัจจุบันควบคู่กับการแพทย์แผนไทยมีสุขภาพดี และพัฒนางานการแพทย์แผนไทยในอนาคตต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะ และดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ ทักษะ และการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร้อยละ 90
    ขนาดปัญหา 90.00 เป้าหมาย 90.00
  • 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการนวด ประคบ บริหารร่างกายให้กับผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ในการนวด ประคบ บริหารร่างกายให้กับผู้ป่วยเข่าเสื่อม ร้อยละ 90
    ขนาดปัญหา 90.00 เป้าหมาย 90.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้ยาสมุนไพรในการดูแลตนเองเบื้องต้น เพื่อลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน
    ตัวชี้วัด : มีการใช้ยาสมุนไพร แทนการใช้ยาแผนปัจจุบัน ร้อยละ 50
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 50.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก และการใช้สมุนไพรพื้นบ้านดูแลสุขภาพ
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม 1.จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่เพื่อวางแผนการดำเนินงาน 2.จัดทำหนังสือขออนุมัติจัดกิจกรรม 3.จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการและเดินหนังสือในชุมชนล่วงหน้า 2 อาทิตย์ก่อนดำเนินโครงการ 4.แจ้งแผนการดำเนินงาน และกำหนดการให้แกนนำ อสม.รับทราบ 5.จัดทำสื่อการสอนเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย 6.อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก และการใช้สมุนไพรพื้นบ้านดูแลสุขภาพ

    งบประมาณ 1.ค่าอาหารกลางวันอบรมผู้สูงอายุ จำนวน 75 คน x 50 บาท x 1 มื้อ x 2 วัน เป็นเงิน 7,500 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มอบรมผู้สูงอายุ จำนวน 75 คน x 25 บาท x 2 มื้อ x 2 วัน เป็นเงิน 7,500 บาท 3.ค่าวิทยากร จำนวน 5 ช.ม. x 300 บาท x 2 วัน เป็นเงิน 3,000 บาท

    งบประมาณ 18,000.00 บาท
  • 2. กิจกรรมสาธิตการนวดพื้นฐานในการดูแลผู้สูงอายุ และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม
    1.จัดกิจกรรมสาธิตการนวดพื้นฐานในการดูแลผู้สูงอายุ และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร 2.บรรยายและให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยมณีเวช

    รายละเอียดงบประมาณ ค่าสมุนไพรและวัสดุอุปกรณ์ 1) พิมเสน จำนวน 1 กก. เป็นเงิน 1,100 บาท 2) การบูร จำนวน 1 กก. เป็นเงิน 580 บาท 3) เมนทอล จำนวน 1.5 กก. เป็นเงิน 2,100บาท 4) น้ำมันยูคาลิปตัส จำนวน 1 ปอนด์ เป็นเงิน 800 บาท 5) Paraffin waxจำนวน๑ กก. เป็นเงิน 85 บาท 6) Vaseline จำนวน๑ กก. เป็นเงิน 100 บาท 7) น้ำมันมะพร้าว จำนวน 1,000 ลิตร เป็นเงิน 780 บาท 8) น้ำมันระกำ จำนวน 1 ปอนด์ เป็นเงิน 150 บาท 9) ไพล จำนวน ๕ กก.เป็นเงิน 990 บาท 10) เอทิลแอลกอฮอล์ 95% จำนวน 3 ลิตร เป็นเงิน 450 บาท 11) ขวดสเปรย์ ขนาด 100 ml จำนวน 20 ใบ เป็นเงิน 360 บาท 12) ขวดยาหม่องขนาด ๒๕ กรัม จำนวน 100 ใบ เป็นเงิน 100บาท 13) ขวดแก้วขนาด 15 cc จำนวน 100 ใบ เป็นเงิน 250 บาท 14) ตะไคร้ จำนวน2.5 กก. เป็นเงิน 60 บาท 15) ใบมะขาม จำนวน1 กก. เป็นเงิน 100 บาท 16) ขมิ้นชัน จำนวน1.5 กก. เป็นเงิน 330 บาท 17) มะกรูดจำนวน3 กก. เป็นเงิน 558 บาท 18) เกลือ จำนวน0.5 กก. เป็นเงิน 20 บาท 19) ผ้าดิบ จำนวน 30 หลาเป็นเงิน 840 บาท 20) เชือกด้ายดิบ จำนวน๑ มัด เป็นเงิน 120 บาท

    งบประมาณ 9,873.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตร

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 27,873.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะ และดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
  2. ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล และกลุ่มวัยทำงานมีความรู้เรื่องสมุนไพรในชุมชน มีการใช้ยาสมุนไพรในการดูแลตนเองเบื้องต้น และใช้สมุนไพรได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี
  3. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการนวด ประคบ บริหารร่างกายให้กับผู้สูงอายุ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร รหัส กปท. L2477

อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร รหัส กปท. L2477

อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 27,873.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................