กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสมุนไพรใกล้ตัวสู่การใช้ประโยชน์เพื่อส่งเสริมสุขภาพในชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน

กลุ่มมะพร้าวแก้วบ้านบารายี ม.7

1. นางนันทิชา สุวรรณรัตน์
2. นางสาวสมใจ ฮามจันทร์
3. นางสาวจรรยา ลิมาน
4. นางสาวจาณิสตา ลิมาน
5. นางจันจิรา หมาดหลัง

บ้านบารายี ม.7

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน มีผลกระทบกับครอบครัวและชุมชน ดังนันการส่งเสริม การดูแลสุขภาพ องค์ความรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน ที่เหมาะสมกับวัยที่ถูกต้อง และได้รู้จักสมุนไพรใกล้ตัวที่เราสามารถนำมาใช้ประโยชน์ทั้งภายในและภายนอก เราจึงอยากให้คนในชุมชน มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม จึงจัดทำโครงการ สมุนไพรใกล้ตัว สู่การใช้ประโยชน์เพื่อสุขภาพในชุมชนขึ้นมา

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของสมุนไพรไทย

คนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรเพิ่มขึ้น

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/03/2020

กำหนดเสร็จ 16/03/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรใกล้ตัว

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรใกล้ตัว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าวิทยากร 2 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 52 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน 3,120 บาท
  3. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 52 คนๆละ 2 มื้อๆละ 20 บาท เป็นเงิน 2,080 บาท
  4. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ป้าย 500 บาท
  5. ค่าจัดทำเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 50 ชุดๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
    6.ค่าอุปกรณ์ทำลูกประคบและสมุนไพรแช่เท้า 4,650 บาท
    -สมุนไพร 1600 บาท
    -ผ้าทำลูกประคบ 800 บาท
    -กะละมังแช่เท้า 50 คนๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1000 บาท
    -เกลือ 50 บาท
    -ผ้าประคบแช่เท้า 50 คนๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1000 บาท
    -เชือกมัดลูกประคบ 200 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มีนาคม 2563 ถึง 15 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14650.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,650.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. คนในชุมชนสามารถดูแลตนเองและครอบครัวด้วยสมุนไพร เมื่อเจ็บป่วยได้ถูกต้องและปลอดภัย
2. คนในชุมชนสามารถผลิตสมุนไพรใช้เองได้
3. คนในชุมชนมีความรู้และมีความพึงพอใจในการทำสมุนไพรใช้เอง


>