กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสมุนไพรแช่เท้าเพื่อสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณ์ชุมชนบ้านท่าข้ามควาย

1. นางกมลทิพย์ ช่วยเอียด
2. นางอุไร เอียดแก้ว
3. นางตีก๊ะ ประกอบ
4. นางศิริวรรณ ชูพงษ์
5. นางวัณดี หลังเถาะ

ชุมชนบ้านท่าข้ามควาย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เนื่องจากในชุมชนบ้านท่าข้ามควาย มีสมุนไพรไทยใกล้ตัวหลากหลายสามารถนำมาใช้ประโยชน์และดูแลสุขภาพได้กลุ่มกล้วยฉาบบ้านท่าข้ามควาย ได้คิดให้คนในกลุ่มและชุมชนได้รู้คุณค่าของสมุนไพรไทยใกล้ตัวซึ่งเกิดเป็นกิจกรรม แช่เท้าในน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและคนสนใจในชุมชน สามารถนำเอาความรู้กลับไปทำเองที่บ้านซึ่งจะเกิดการดูแลเอาใจใส่ซึ้งกันและกันในครอบครัวคนในชุมชนและผู้สูงอายุบ้านท่าข้ามควายได้ทำชุมชนการท่องเที่ยว

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้คนในชุมชนและผู้สูงอายุได้ทำสมุนไพรไทยใกล้ตัวไว้ใช้เอง

สามารถทำสมุนไพรแช่เท้าเองได้ที่บ้าน

0.00
2 2.เพื่อให้คนในครอบครัวเกิดความรักดูแลซึ้งกันและกัน

คนในครอบครัวดูแลเอาใจใส่ซึ้งกันและกันมากขึ้น

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 24/03/2020

กำหนดเสร็จ 24/03/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สมุนไพรแช่เท้าเพื่อสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
สมุนไพรแช่เท้าเพื่อสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ช่วงเช้าให้ความรู้สมุนไพรใกล้ตัว บ่ายแช่เท้ากับจิบชาข้าวกล้องงอก 3 สี 9 สายพันธุ์
แช่เท้าสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
1.วัสดุสาธิต 4440 บาท
-กะละมัง ใบละ 20บาท จำนวน 60 คน =1,200 บาท
-ผ้าขนหนูพอกเข่า ผืนละ 20บาท จำนวน 60 คน =1,200 บาท
-สมุนไพร 8 กก. ๆละ 80บาท = 640
-เกลือ 5กก.ๆละ 10 บาท = 50
-ข้าวกล้องงอก 3 สี 9 สายพันธุ์ จำนวน 3 กระป๋องๆละ 450 = 1,350
2.วิทยากร 3ชม.ๆละ 600 บาท จำนวน 1 คน = 1,800
3.อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 20 บาท จำนวน 80 คน =1,600
4.อาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 60 บาท จำนวน 80 คน = 4,800
5.ค่าเครื่องเสียงพร้อมสถานที่ = 1,000
6.ค่าป้ายไวนิล = 500


กำหนดการอบรม
08.30-09.00น.ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
09.00-12.00น.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกียวกับสมุนไพรไทยไกล้ตัวโดย.......
กิจกรรมซักถามข้อสงสัย
12.00-13.00น.รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.30น.แช่เท้าน้ำสมุนไพรไทยพร้อมด้วยจิปน้ำข้าวกล้องงอก
กิจกรรมซักถามข้อสงสัยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 มีนาคม 2563 ถึง 24 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12540.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,540.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.คนในชุมชนสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัวในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ได้
2.ผู้เข้าร่วมมีสุขภาพดีขึ้นจากการทำกิจกรรมแช่เท้าสมุนไพรเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง


>