กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็ก 1,000 วันแรกแห่งชีวิต ตำบลกกตูม อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ปี 2563

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกกตูม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็ก 1,000 วันแรกแห่งชีวิต ตำบลกกตูม อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกกตูม

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสานแว้

1. นางอัญชรี ทองผา2.นางสาวกมลรัตน์ เหง้าโอสรา 3.นางอภิญญา พ่อสิงห์ 4.นางสิริพิมพ์ สิริภักดีพรหมมา

16หมู่บ้าน เขตตำบลกกตูม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์(คน)

 

45.00
2 จำนวนหญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง(คน)

 

37.00
3 จำนวนหญิงคลอดได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอด(คน)

 

42.00
4 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการคัดกรองและป้องกันโรคทาลัสซีเมีย (คน)

 

45.00
5 จำนวนแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน(คน)

 

52.00
6 จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น(อายุน้อยกว่า 20 ปี) (คน)

 

3.00
7 สนับสนุนให้เด็กแรกเกิดถึง ๒ ปี มีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน และฟันไม่ผุ (คน)

 

141.00
8 บทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพ และเลี้ยงดูได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม(คน)

 

136.00

เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี 2559 กรมสุขภาพจิต ได้ดำเนินการสำรวจสถานการณ์ความฉลาดทางสติปัญญา (ไอคิว: IQ) และความฉลาดทางอารมณ์ (อีคิว : EQ) เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั่วประเทศ จำนวน 23,641 คน พบว่า เด็กมีคะแนนไอคิว เฉลี่ยอยู่ที่ 98.2 ซึ่งสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการสำรวจในปี 2554 เฉลี่ยอยู่ที่ 94พบเด็กที่มีระดับสติปัญญาอยู่ในเกณฑ์บกพร่องหรือต่ำกว่า 70 ถึงร้อยละ 5.8 สูงกว่ามาตรฐานสากล (ไม่ควรเกินร้อยละ 2) สำหรับจังหวัดมุกดาหาร จากข้อมูลสำรวจ ปี2559 มีคะแนนไอคิว เฉลี่ยอยู่ที่ ๙๓

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนได้รับความรู้และทักษะในการปฏิบัติตัวเพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และส่งเสริมพัฒนาการ และเจริญเติบโตของทารกในครรภ์

อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ลดลงจากฐานข้อมูลในปีที่ผ่านมา อย่างน้อยร้อยละ  1 จากร้อยละ 8.93 (เป้าหมายกระทรวงฯ ไม่เกินร้อยละ 7)

45.00 46.00
2 เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน

จำนวนแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน ร้อยละ100

37.00 40.00
3 เพื่อสนับสนุนให้เด็กแรกเกิดถึง 2 ปี มีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน และฟันไม่ผุ

ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 52

397.00 298.00
4 บทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพ และเลี้ยงดูได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม(คน)

บทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพ และเลี้ยงดูได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม(คน) ร้อยละ100

136.00 150.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 136
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 46
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมชี้แจงนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารกลางวัน80 คน x 1 มื้อๆ ละ 50 บาท -ค่าอาหารว่าง 80 คน x 2 มื้อๆ ละ 25 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จัดประชุมชี้แจงนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน จำนวน 80 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมให้ความรู้และพัฒนาทักษะหญิงตั้งครรภ์ตามหลักสูตรเนื้อหา การส่งเสริมสุขภาพ 1,000 แรกแห่งชีวิต

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้และพัฒนาทักษะหญิงตั้งครรภ์ตามหลักสูตรเนื้อหา การส่งเสริมสุขภาพ 1,000 แรกแห่งชีวิต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารกลางวัน70 คน x 1 มื้อๆ ละ 50 บาท -ค่าอาหารว่าง 70 คน x 2 มื้อๆ ละ 25 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ให้ความรู้และพัฒนาทักษะหญิงตั้งครรภ์ตามหลักสูตรเนื้อหา การส่งเสริมสุขภาพ 1,000 แรกแห่งชีวิต จำนวน 70 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

กิจกรรมที่ 3 สนับสนุนอาหารเสริมหญิงตั้งครรภ์

ชื่อกิจกรรม
สนับสนุนอาหารเสริมหญิงตั้งครรภ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารเสริมในหญิงตั้งครรภ์ ( นมจืด )๗๐ คน x๙๐ กล่อง x ๑๐ บาท ค่าเกลือเสริมไอโอดีน๗๐ คน x ๕ ถุง x ๑๐ บาท
ค่าแปรงสีฟัน ยาสีฟัน สำหรับหญิงตั้งครรภ์จำนวน ๗๐ ชุด ๆละ ๒๕ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-จ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีนตลอดการตั้งครรภ์ จำนวน ๗๐ คน -เกลือไอโอดีนตลอดการตั้งครรภ์ จำนวน ๗๐ คน -นมจืดจำนวน ๙๐ กล่อง ไตรมาส 3 จำนวน ๗๐ คน
-ไข่ จำนวน ๙๐ ฟอง จำนวน ๗๐ คน -แปรงสีฟัน ยาสีฟัน สำหรับหญิงตั้งครรภ์จำนวน ๗๐ คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
68250.00

กิจกรรมที่ 4 หน่วยบริการจัดกิจกรรมให้ความรู้และพัฒนาทักษะผู้ปกครอง/ผู้เลี้ยงดูเด็ก ตามหลักสูตร เนื้อหา การส่งเสริมสุขภาพ 1,000 แรกแห่งชีวิต

ชื่อกิจกรรม
หน่วยบริการจัดกิจกรรมให้ความรู้และพัฒนาทักษะผู้ปกครอง/ผู้เลี้ยงดูเด็ก ตามหลักสูตร เนื้อหา การส่งเสริมสุขภาพ 1,000 แรกแห่งชีวิต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารกลางวัน ๑๓๖ คน x 1 มื้อๆ ละ 50 บาท
ค่าอาหารกลางวัน ๑๓๖ คน x ๒ มื้อๆ ละ 25 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

พัฒนาทักษะผู้ปกครอง/ผู้เลี้ยงดูเด็ก ตามหลักสูตร เนื้อหา การส่งเสริมสุขภาพ 1,000 แรกแห่งชีวิตจำนวน 136คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16100.00

กิจกรรมที่ 5 จ่ายอาหารเด็กที่มีปัญหาโภชนาการต่ำ

ชื่อกิจกรรม
จ่ายอาหารเด็กที่มีปัญหาโภชนาการต่ำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารเสริมในเด็ก ๖ เดือน - ๑ ปี ( ไข่ ) ๓๔คน x ๙๐ ฟอง x ๔ บาท ค่าอาหารเสริมในเด็ก ๑ - ๒ ปี ( นมจืด )๗๐คน x ๙๐ กล่อง x ๑๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จ่ายอาหารเด็กที่มีปัญหาโภชนาการต่ำ๖ เดือน - ๑ ปี ( ไข่ ) ๓๔คน และค่าอาหารเสริมในเด็ก ๑ - ๒ ปี ( นมจืด ) จำนวน ๗๐คน
-นมจืดจำนวน ๙๐ กล่องจำนวน 70 คน -ไข่ จำนวน๙๐ ฟอง จำนวน 34 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
75240.00

กิจกรรมที่ 6 หน่วยบริการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เด็ก ๐ - ๒ ปี

ชื่อกิจกรรม
หน่วยบริการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เด็ก ๐ - ๒ ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าแปรงสีฟันยาสีฟัน เด็ก ๙ เดือน - ๒ ปี จำนวน ๘๕  ชุด ๆละ ๒๕ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก ๐ - ๒ ปี จำนวน 136 คน ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก ๐ - ๒ ปีจำนวน 136 คน
  • แจกแปรงสีฟันเด็ก 9 เดือน - ๒ ปีจำนวน 136 คน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2125.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 176,715.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ลดลงจากฐานข้อมูลในปีที่ผ่านมา อย่างน้อยร้อยละ1 จากร้อยละ 8.93 (เป้าหมายกระทรวงฯ ไม่เกินร้อยละ 7)
2 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการเด็กสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
3 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 52
4 ครอบครัวของหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการส่งเสริมอนามัยของแม่และเด็กได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม


>