กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ป้องกันควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลยะหา

-

ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)

 

70.00
2 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรีย(คน)

 

3.00

โรคติดต่อเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้หากทุกคนให้ความสำคัญและตระหนักถึงอันตรายของโรค รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขปัญหาโรคติดต่อโดยจะเน้นให้ประชาชนมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเองอันจะทำให้การดำเนินงานแก้ไขปัญหาเกิดความยั่งยืนโดยมุ่งพัฒนาให้มีระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติในชุมชน รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินสร้างเครือข่ายเพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมอันจะทำให้เกิดประสิทธิผล ต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ได้ทันท่วงทีโรคติดต่อ สำหรับในเขตร้อน อากาศอบอุ่นจนถึงร้อนจัดตลอดปี และมีฝนตกชุก มีความชื้นสูง เป็นผลให้เชื้อโรคต่างๆ ชุกชุม เมื่อมีการติดต่อถ่ายทอดไปยังผู้อื่น ก็จะทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคมากขึ้น จึงจะต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน และมีมาตรฐานในแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย ที่เข้ารับการรักษาเกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่นโรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือเท้าปากโรคตาแดง เป็นต้น ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต และทรัพย์สินจำนวนมาก ซึ่งกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะหาถือเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการด้านการสนับสนุน ส่งเสริม ฟื้นฟู และระงับโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ดังนั้น เพื่อให้การป้องกันควบคุมและเฝ้าระวังโรคติดต่อเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพจึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลยะหา เพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนได้มีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อ ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และให้ความร่วมมือในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ รวมทั้งมีทัศนคติที่ถูกต้องและตระหนักถึงปัญหาโรคติดต่อในพื้นที่อย่างจริงจัง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกัน

ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการองกันและควบคุมโรคติดต่อร้อยละ 50

150.00 75.00
2 เพื่อเป็นการควบคุมการระเบิดของโรคติดต่อในพื้นที่

สามารถป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้ร้อยละ 50

150.00 75.00
3 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันและแก้ไขโรคติดต่อ

ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชนได้ร้อยละ 50

150.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 24/02/2020

กำหนดเสร็จ 31/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 รณรงค์โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ตัวแทนนักเรียนแต่ละโรงเรียนในเขต อบต.ยะหา จำนวน 4 โรง และประชาชนทั่วไป อสม. จำนวน 150 คน 1. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 150 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน7,500บาท 2. ค่าอาหาร จำนวน 150 คนๆ ละ 50 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน7,500บาท 3. วิทยากร จำนวน6ชม.ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน3,600บาท 4. ค่าวัสดุในการจัดอบรม เป็นเงิน4,500บาท 5. ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน1 ผืน เป็นเงิน 800บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 23,900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชาชนมีความรู้และทักษะสามารถดูแลตัวเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อ 2. บ้านหมู่บ้านศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนลดอัตราการเกิดโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในชุมชน 3. มีกลุ่มแกนนำในการติดตามดูแลและป้องกันการเกิดโรคติดต่อในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียและอัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออก ต่อแสนประชากร
๒. ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียและมี พฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม การป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย
๓. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย
๔. ทำให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน มัสยิด โรงเรียนให้น้อยลง


>