กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา

โรงเรียนศาสนูปถัมภ์ตำบลบานาอำเภอเมืองจังหวัดปัตตานี

1.ดร.อาฮามัดกาแมแวมูซอ เบอร์โทร 0935747889

2.นายคอดาฟี หะยีตาเฮร์ เบอร์โทร 0819901650

3.นายนิโรจน์ มุกาวี เบอร์โทร 0831680392

4.นางอะห์ลาม กุลตามา เบอร์โทร 0898698538

5.นางสาวนิฮาณีฟะ นิมาเบอร์โทร 0913132823

โรงเรียนศาสนูปถัมภ์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

อาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ทุกคนและต้องบริโภคกันอยู่ทุกวันจะแน่ใจได้อย่างไรว่าอาหารที่เราบริโภคอยู่ทุกวันนี้มีความสะอาดปลอดภัยหากผู้บริโภคปรุงอาหารด้วยตนเองก็มั่นใจได้ว่าอาหารมีความปลอดภัยในระดับหนึ่งแต่คนส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารนอกบ้านมารับประทานทำให้ไม่สามารถมั่นใจได้ว่าอาหารมีความปลอดภัยเพียงพอทำให้เกิดความเสี่ยงมากกว่า
ในปัจจุบันมีพ่อค้าแม่ค้าที่เอาเปรียบผู้บริโภคนำวัตถุดิบที่มีคุณภาพต่ำมาประกอบอาหารหรือมีการเติมสารห้ามใช้ในอาหารบางอย่างลงไป เช่นบอแรกซ์โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์เป็นต้นรวมทั้งมีการปรุงอาหารอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่สะอาดเหมาะสมซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ดังนั้นหากผู้บริโภคขาดความรู้ความเข้าใจอย่างเพียงพอในเรื่องความปลอดภัยของอาหารก็จะยิ่งทำให้ไม่สามารถเลือกซื้อหรือเก้บรักษาอาหารได้ถูกต้องและไม่สามารถดูแลปกป้องตนเองจากพิษภัยของอาหารที่ไม่ปลอดภัยได้
ดังนั้นการให้ความรู้เบื่องต้นเรื่องความปลอดภัยของอาหารจึงควรทำตั้งแต่เนิ่นๆที่สุดคือในวัยเด้กที่สามารถเรียนรู้ได้รวดเร็วเพื่อที่จะปลูกฝังให้เป็นพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ตลอดไปไม่ว่าเด็กจะเติบโตขึ้นเป็นเพียงผู้บริโภคหรือเป็นผู้ประกอบการผลิตอาหารเองด้วยในอนาคตก็ตามการตระหนักในความสำคัญของความปลอดภัยของอาหารความสะอาดรู้จักดูแลหยิบจับเก็บรักษาอาหารอย่างถูกต้องการรู้จักปกป้องตนเองรู้จักการเลือกสังเกตหรือทดสอบและรู้จักปฏิเสธอาหารอาหารที่ไม่ปลอดภัยจึงเป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้และฝึกฝนตั้งแต่เด็กเพื่อให้สามารถนำไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ตลอดไปอย่างยั่งยืน
โรงเรียนศาสนูปถัมภ์ได้เล็งเห็นความสำคัญของเด้กในวัยเรียนซึ่งมีความกระตือรือร้นและมีศักยภาพในตนเองสามารถชี้นำเพื่อนและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนินงานได้เป็นอย่างดีจึงได้จัดตั้งให้มีชมรมอย.น้อยในโรงเรียนขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดตั้งชมรม อย.น้อยในโรงเรียน

โรงเรียนศาสนูถัมภ์มีแกนนำ  อย.น้อยในโรงเรียน

0.00
2 เพื่อให้สมาชิกชมรม อย.น้อยศาสนูถัมภ์ตรวจวิเคราะห์อาหารที่มีสารเจือปนประเภทสารบอแรกซ์ สารฟอกขาวและจุลินทรีย์ต่างๆได้

แกนนำ อย.น้อยศาสนูถัมภ์ สามารถตรวจวิเคราะห์อาหารที่มีสารเจือปนประเภทสารบอแรกซ์และจุลินทรีย์ต่างๆได้

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 04/06/2020

กำหนดเสร็จ 30/06/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมแกนนำอย.น้อยในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
อบรมแกนนำอย.น้อยในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าตอบแทนวิทยากร600 บาทX6 ชม. X 1 คน เป็นเงิน3,600.-บาท

2.ค่าอาหารกลางวัน50 บาท X 200 คนเป็นเงิน10,000.-บาท

3.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม25บาท X 200 คนX 2 มื้อเป็นเงิน10,000.-บาท

4.ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 1 X 3 เมตร จำนวน1 ป้ายเป็นเงิน 750.-บาท

5.ค่าเกียรติบัตร จำนวน200 คน X 10บาท เป็นเงิน 2,000.-บาท

6.ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 1,335.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27685.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการตรวจสอบคุ้มครองผู้บริโภคภายในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการตรวจสอบคุ้มครองผู้บริโภคภายในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าชุดทดสอบสาร 9 รายการ   เป็นเงิน 2,763.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2763.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,448.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนคูรผู้ปกครอง และชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย

2.สมาชิกของชมรมมีความตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียนและในชุมชน

3.สมาชิกของชมรมสามารถตรวจวิเคราะห์อาหารอย่างน้อยในเรื่องสารบอแรกซ์สารฟอกขาวฟอร์มาลินได้

4.นักเรียนครูผู้ปกครองและบุคลากรอื่นๆในโรงเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน


>