กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการแรงงานประมงสุขใจ ดูแลสุขภาพได้ ก่อนออกทะเล เทศบาลตำบลหนองจิก (ปีที่ 2 )

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการแรงงานประมงสุขใจ ดูแลสุขภาพได้ ก่อนออกทะเล เทศบาลตำบลหนองจิก (ปีที่ 2 )

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน

1.นางสาวนริสา บุญเทียม ประธานชมรม
2.นางอารยา อับดอลลา รองประธานชมรม
3.นางสาวอาสนะ ดอเลาะ เหรัญญิก
4.นางอาซียะห์ อารง ทะเบียน
5.นางสะปีนะ อาแว เลขานุการ

ลานบริเวณตลาดนัด ชุมชนท่ายาลอ ม.4ต.ตุยงอ.หนองจิก จ.ปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานแรงงานนอกระบบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้กลุ่มชาวประมงในพื้น ตระหนักถึงปัญหาของสุขภาพและสามารถตรวจสุขภาพตัวเองได้

 

0.00
2 2.กลุ่มชาวประมงสามารถจัดทำแผนป้องกันตนเองของชุมชน เพื่อลดความเสี่ยงการทำงานของแรงงานนอกระบบ

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/06/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรม อสอช.ณ วิทยาลัยกาญจนภิเษก

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรม อสอช.ณ วิทยาลัยกาญจนภิเษก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารเที่ยงพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 60 คนx 70 บาท= 4,200.- บาท ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 35 บาท x2 มื้อ = 4,200.- บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 กรกฎาคม 2563 ถึง 9 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กิจกรรมอบรม อสอช.ณ วิทยาลัยกาญจนภิเษก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8400.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมวิเคราะห์ปัญหา

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมวิเคราะห์ปัญหา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารเที่ยงและเครื่องดื่ม จำนวน 70 บาท x 60 คน= 4,200 บาท อุปกรณ์ป้องกันปัญหาทางสายตา จำนวน 20 คนx 400 บาท = 8,000 บาท ค่าวิทยากรในการบรรยายและให้ความรู้เบื้องต้น จำนวน 600 บาท x 3 ชม.= 1,800

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 กรกฎาคม 2563 ถึง 15 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ชาวประมงสามารถเสนอข้อคิดเห็นและสามารถเสนอปัญหาที่กระทบจากการทำงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมอบรมให้ความรู้หลังจาการวิเคราะห์ปัญหา

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้หลังจาการวิเคราะห์ปัญหา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 35 บาท= 4,200 บาท ค่าวิทยากรในการบรรยาย จำนวน 600 บาทx 3 ชม. = 1800 บาท ค่าวัสดุ (ถุงมือยาง) จำนวน 3,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 กรกฎาคม 2563 ถึง 16 กรกฎาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ชาวประมงที่ได้รับความรู้สามารถนำความรู้ที่ได้มาปรัปและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 32,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.กลุ่มประมงพื้นบ้าน ที่ทำงานซ่อม/สร้างเรือ ได้รับการคัดกรอง/ตรวจสุขภาพ
2.กลุ่มประมงพื้นบ้านมีความรู้ ความเข้าใจพิษภัยของสารตะกั่ว
3.กลุ่มประมงพื้นบ้าน เกิดความตระหนักในการป้องกันตนเอง เพื่อลดความเสี่ยง อันตรายจากการทำงาน
4.เกิดการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ในระดับชุมชนเพื่อลดสารตะกั่วในพื้นที่


>