กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการ “โครงการอบรมป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชน” ปี 2563

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ “โครงการอบรมป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชน” ปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลูบี

1.นางโนรีฮาเจ๊ะมะนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
2.นางสาวฮาซามิง เจ๊ะหะเจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน
3.นางซอลีฮะห์ ปาตินักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
4.นางรอฮีมะห์ บีรูพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
5.นางสาวฮานีซะห์ สาวนิเจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน
6.นางสาวอามีเนาะ สะมะแอเจ๊ะมะเจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลูบี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานความปลอดภัยทางถนน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เนื่องจากสถานการณ์ในปัจจุบัน การขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนนที่ไม่ปลอดภัยจนส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นนั้นนับเป็นความสูญเสียอย่างรุนแรง ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ทั้งนี้มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลสงกรานต์และเทศกาลปีใหม่มีการเกิดอุบัติเหตุในแต่ละปีเป็นมาก อุบัติเหตุเหล่านี้มักมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน ได้แก่ (1) ปัจจัยด้านพฤติกรรมของผู้ขับขี่ (2) ปัจจัยด้านรถหรือยานพาหนะ (3) ปัจจัยด้านถนนและสิ่งแวดล้อม และ (4) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ อุบัติเหตุที่เป็นผลมาจากปัจจัยทั้ง 4 ข้างต้นนี้ เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นแล้วย่อมส่งผลให้เกิดความเสียหายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความเสียหายที่ตีค่าเป็นตัวเงินหรือความเสียหายที่ไม่อาจตีค่าเป็นตัวเงินได้จากความสูญเสียดังกล่าวนับว่าเป็นภัยอย่างร้ายแรงที่จะส่งผลเสียหายต่อสังคมในภาพรวม ซึ่งรัฐบาลในยุคที่ผ่านมาจวบจนถึงรัฐบาลในยุคปัจจุบันได้เล็งเห็นความสำคัญที่จะทำการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนมิให้เกิดขึ้นหรือให้เกิดขึ้นได้ในจำนวนน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ ดังที่ปรากฏตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 รัฐบาลได้จัดตั้งศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนระดับจังหวัด และ อำเภอ โดยเน้นการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสำคัญเป็นหลักด้วยมาตรการต่าง ๆ ที่ภาครัฐพยายามคิดรูปแบบและนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม แต่เมื่อพิจารณาถึงจำนวนสถิติที่ผ่านมากลับพบว่าจำนวนอุบัติเหตุบนท้องถนนก็ยังเกิดขึ้นให้เห็น โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลสำคัญ ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถใช้ถนนมากกว่าปกติ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาแล้ว การดำเนินการโดยภาครัฐแต่เพียงฝ่ายเดียวคงไม่เพียงพอ ในยุคปัจจุบันควรที่จะคิดรูปแบบอื่น ๆ โดยเฉพาะการนำภาคประชาชนในท้องถิ่นที่มีความพร้อมหรือมีศักยภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันอุบัติเหตุอีกทางหนึ่งดังนั้นเนื่องจาก รพสต.บ้านกลูบี ถนนเส้นทางประตูทางเข้าออกของ รพสต.พื้นถนนเป็นที่เนินสูง จะเข้าออกไม่สามารถมองเห็นผู้คนสรรจญไปมาได้จึงสมควรติดตังกระจกมอง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุและช่วงมีการรณรงค์มหกรรมทางสุขภาพต่างๆสมควรมีอุปกรณ์เพื่อป้องกันอุบัติเหตุแก่ประชาชนผู้มารับบริการทางกันสุขภาพ ดังนั้นทาง รพสต.จึงการได้จัดทำโครงการอบรมป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชนขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดตราการเกิดอุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในพื้นที่ รพสต.บ้านกลูบีตำบลสากออำเภอสุไหงปาดีจังหวัดนราธิวาส

อบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว เรื่องโครงการอบรมป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชน ร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อเป็นพื้นที่ต้นแบบ (นำร่อง) ในการสร้างนวัตกรรมด้านการดำเนินการป้องกันและ แก้ไขการเกิดอุบัติเหตุทางถนน โดยแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวในชุมชนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่มีส่วนร่วม

แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้ความตระหนักและได้รับความรู้เรื่องป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชนได้ถูกต้องร้อยละ 80

0.00
3 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว/ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย

เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว/ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัย

0.00
4 เพื่อส่งเสริมให้เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่โดยหน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุน

เพื่อส่งเสริมให้เกิดภาคีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในระดับพื้นที่โดยหน่วยงานของรัฐให้การสนับสนุน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 90
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้ แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวเรื่องการป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้ แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวเรื่องการป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนสร้างความปลอดภัยในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1x3 เมตร จำนวน 1ผืนเป็นจำนวนเงิน 900 บาท

2.อาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม มื้อละ 25 บาทx 2 มื้อ xจำนวน 60 คน เป็นจำนวนเงิน 3,000 บาท

4.อาหารกลางวันผู้เข้าอบรม มื้อละ 50 บาท x 1 มื้อ xจำนวน 60 คน
เป็นจำนวนเงิน 3,000บาท

5.ค่าวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 300 บาท เป็นจำนวนเงิน 1,500 บาท

6.วัสดุจัดการอบรม จำนวน 10,๙80 บ

-กระเป๋าหิ้ว 90 ชุดๆละ 40 บาท
รวมเป็นเงิน 3,600 บาท

-กรวยจราจร 75 ซม.ราคาอันละ 268 บ.x5อัน รวมเป็นเงิน =1,340 บาท

-ไฟติดกรวยจราจร 75 ซม.ราคาอันละ 268 บ. รวมเป็นเงิน =1,340 บาท

-กระจกมองโค้ง 45 ซม.จำนวน 1ขุด รวมเป็นเงิน =2,100 บาท

-เหล็กกั้นขับรถระวังจราจร จำนวน 1 ชุด
รวมเป็นเงิน 2,600 บาท

รวมค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 20,380 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.มีการสร้างกระแสปลุกจิตสำนึกในการป้องกันและป้องกันแก้ไขยาเสพติดในสถานบันครอบครัวเป็นอันดับแรก

2.มีการสร้างแนวร่วมในการป้องกันปัญหายาเสพติดระดับรากหญ้า โดยดึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสถาบันพื้นฐานคือครอบครัวมาเป็นแนวร่วมและเครือข่าย

3.เกิดระบบการติดตามประเมินผลการปฏิบัติภารกิจป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เป็นประจำทุกเดือน

4.มีการจัดกิจกรรมในโรงเรียนในเขตรับผิดชอบทั้ง 4 แห่ง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20380.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,380.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีการสร้างกระแสปลุกจิตสำนึกในการป้องกันและป้องกันแก้ไขยาเสพติดในสถานบันครอบครัวเป็นอันดับแรก

2.มีการสร้างแนวร่วมในการป้องกันปัญหายาเสพติดระดับรากหญ้า โดยดึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสถาบันพื้นฐานคือครอบครัวมาเป็นแนวร่วมและเครือข่าย

3.เกิดระบบการติดตามประเมินผลการปฏิบัติภารกิจป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เป็นประจำทุกเดือน

4.มีการจัดกิจกรรมในโรงเรียนในเขตรับผิดชอบทั้ง 4 แห่ง


>