กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ “โครงการการดูแลผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติดในครอบครัว” ปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลูบี

1.นางโนรีฮาเจ๊ะมะนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 2.นางสาวฮาซามิง เจ๊ะหะ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน 3.นางซอลีฮะห์ ปาติ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 4.นางรอฮีมะห์ บีรู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 5.นางสาวฮานีซะห์ สาวนิ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน 6.นางสาวอามีเนาะ สะมะแอเจ๊ะมะ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลูบี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เนื่องจากสถานการณ์ในปัจจุบัน สังคมไทยต้องประสบกับปัญหาต่างๆ มากมาย อาทิเช่น ปัญหาการก่อการร้ายในบริเวณ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัญหาอุทกภัย ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด ฯลฯ โดยเฉพาะปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดนั้น นับได้ว่ามีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น และเป็นปัญหาระดับชาติ เป็นนโยบายของรัฐบาลที่เร่งด่วนให้ภาครัฐและประชาชนร่วมกันแก้ไข ซึ่งในขณะนี้แม้กระทั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติและหน่วยงานทุกภาคส่วน จะได้พยายามเร่งระดมสรรพกำลังและทรัพยากรด้านต่างๆ ในการดำเนินการป้องกันปราบปรามอย่างจริงจังและต่อเนื่อง แต่ก็ปรากฏได้ว่าความพยายาม ดังกล่าวได้ผลเพียงในระดับหนึ่งเท่านั้น เนื่องจากการปฏิบัติมีข้อจำกัดหลายประการโดยเฉพาะในเขตชุมชนเมืองและชุมชนหนาแน่น รวมทั้งพื้นที่ที่มีสถานบริการและมั่วสุมต่างๆเช่น ร้านเกมส์ อินเตอร์เน็ต และสถานที่ลับตาผู้คน ฯลฯ ประชากรกลุ่มเสี่ยงยังคงเป็นเยาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษา ตลอดจนผู้ใช้แรงงาน และผู้ว่างงาน อีกทั้งผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดรายใหม่มีจำนวนเพิ่มขึ้น ทั้งผู้ค้าและผู้เสพและเพื่อเป็นการมุ่งเน้นการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ที่ยังมีการแพร่ระบาดของยาเสพติดให้หมดสิ้นไปจากประเทศไทย
รพ.สต.บ้านกลูบี ได้ตระหนักถึงความรุนแรงจึงจัดโครงการการอบรมผู้ปกครองและจัดนิทรรศการในโรงเรียนในเขตรับผิดชอบ และผลกระทบของปัญหายาเสพติดในระยะยาวซึ่งอาจจะหวนกลับมาแพร่ระบาดเข้าไปสู่กลุ่มอื่นๆ อีก ซึ่งจะต้องสร้างระบบเฝ้าระวังควบคุมแหล่งเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของยาเสพติดให้ได้โดยเด็ดขาด โดยได้รับความร่วมมือจากหมู่บ้าน/ชุมชน และสถานประกอบการร่วมกันเข้าแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งการแก้ไขปัญหานี้เป็นเรื่องยากในการที่จะดำเนินการแต่เพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ดังนั้น รพ.สต.บ้านกลูบี จึงร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่ายต่างๆ ในตำบล จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องยาเสพติดและก่อให้เกิดความเข็มแข่งในสถานบันครอบครัวชุมชน
  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่องยาเสพติดร้อยละ 80
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ความตระหนักและได้รับความรู้เรื่องยาเสพติดได้ถูกต้องร้อยละ 80
0.00
2 เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่เครือข่ายผู้ประสานงานพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด ในพื้นที่ทั้งระดับตำบล และระดับหมู่บ้าน
  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่องยาเสพติดร้อยละ 80
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ความตระหนักและได้รับความรู้เรื่องยาเสพติดได้ถูกต้องร้อยละ 80
0.00
3 เพื่อให้การดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่องยาเสพติดร้อยละ 80
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ความตระหนักและได้รับความรู้เรื่องยาเสพติดได้ถูกต้องร้อยละ 80
0.00
4 เพื่อพัฒนาระบบป้องกันและเฝ้าระวังยาเสพติดในพื้นที่
  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่องยาเสพติดร้อยละ 80
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ความตระหนักและได้รับความรู้เรื่องยาเสพติดได้ถูกต้องร้อยละ 80
0.00
5 เพื่อบูรณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด
  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่องยาเสพติดร้อยละ 80
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ความตระหนักและได้รับความรู้เรื่องยาเสพติดได้ถูกต้องร้อยละ 80
0.00
6 เพื่อให้เกิดระบบการติดตามประเมินผลการปฏิบัติภารกิจป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เป็นประจำทุกเดือน
  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่องยาเสพติดร้อยละ 80
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ความตระหนักและได้รับความรู้เรื่องยาเสพติดได้ถูกต้องร้อยละ 80
0.00
7 จัดนิทรรศการในโรงเรียนเรื่องยาเสพติดจำนวน 4โรงและเพื่อเกิดภาวะการตื่นตัวที่จะเกรงกลัวพิษภัยจากยาเสพติด
  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่องยาเสพติดร้อยละ 80
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ความตระหนักและได้รับความรู้เรื่องยาเสพติดได้ถูกต้องร้อยละ 80
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้ แก่ครอบครัวที่มีกลุ่มเสี่ยงเรื่องยาเสพติด

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้ แก่ครอบครัวที่มีกลุ่มเสี่ยงเรื่องยาเสพติด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1x3 เมตร จำนวน 1ผืนเป็นจำนวนเงิน 900 บาท

2.อาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม มื้อละ 25 บาทx 2 มื้อ xจำนวน 60 คน เป็นจำนวนเงิน 3,000 บาท

4.อาหารกลางวันผู้เข้าอบรม มื้อละ 50 บาท x 1 มื้อ xจำนวน 60 คน
เป็นจำนวนเงิน3,000บาท

5.ค่าวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 300 บาท เป็นจำนวนเงิน 1,500 บาท

6.วัสดุจัดการอบรม จำนวน 4,800 บ

-กระเป๋าผ้าลดภาวะโลกร้อนใบละ 80บx60คน รวมเป็นเงิน4,800 บาท

-ค่าตอบสำหรับผู้ดูแลผู้ผ่านการบำบัดครั้งละ 200 บาทหมู่ละ 5 คน = รวมเป็นเงิน6,000 บาท

รวมค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 19,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.มีการสร้างกระแสปลุกจิตสำนึกในการป้องกันและป้องกันแก้ไขยาเสพติดในสถานบันครอบครัวเป็นอันดับแรก 2.มีการสร้างแนวร่วมในการป้องกันปัญหายาเสพติดระดับรากหญ้า โดยดึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสถาบันพื้นฐานคือครอบครัวมาเป็นแนวร่วมและเครือข่าย 3.เกิดระบบการติดตามประเมินผลการปฏิบัติภารกิจป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เป็นประจำทุกเดือน 4.มีการจัดกิจกรรมในโรงเรียนในเขตรับผิดชอบทั้ง 4 แห่ง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีการสร้างกระแสปลุกจิตสำนึกในการป้องกันและป้องกันแก้ไขยาเสพติดในสถานบันครอบครัวเป็นอันดับแรก

2.มีการสร้างแนวร่วมในการป้องกันปัญหายาเสพติดระดับรากหญ้า โดยดึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสถาบันพื้นฐานคือครอบครัวมาเป็นแนวร่วมและเครือข่าย

3.เกิดระบบการติดตามประเมินผลการปฏิบัติภารกิจป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่เป็นประจำทุกเดือน

4.มีการจัดกิจกรรมในโรงเรียนในเขตรับผิดชอบทั้ง 4 แห่ง


>