กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรวมพลังชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงความดันเบาหวานและหลอดเลือด ปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตคตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จากการตรวจคัดกรองประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ในปี 2563 พบว่า ประชาชนอายุ 35 ปีที่มีความเสี่ยงด้วยภาวะความดันโลหิตสูง ร้อยละ 34.85 ประชาชนอายุ 35 ปีที่มีความเสี่ยงด้วยภาวะเบาหวาน ร้อยละ 41.26

 

0.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อลออัตราผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงในกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงสูง 3. เพื่อสร้างเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็งและยั่งยืน
  1. ลดอัตราการดกิดภาวะความดันโลหิตสูงลง ร้อยละ 20
  2. ลดอัตราการดกิดภาวะความดันโลหิตสูงลง ร้อยละ 10
  3. ลดอัตราการดกิดภาวะความดันโลหิตสูงลง ร้อยละ 30
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/03/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อาสาสมัครสาธารณสุขตำบล2. กิจกรรมบริการเชิงรุกและคัดกรองกลุ่มเป้าหมายคัดกรองความดันและเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อาสาสมัครสาธารณสุขตำบล2. กิจกรรมบริการเชิงรุกและคัดกรองกลุ่มเป้าหมายคัดกรองความดันและเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมประชุมอบรม อสม.
- ค่าอาหาร จำนวน 27 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 50 บาท เป็นเงิน 1,350 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน27 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 1,350 บาท - ค่าวัสดุในการอบรม 5,000 บาท รวมเป็นเงิน 7,700 บาท (เจ็ดพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 50 คน
  2. ลดอัตราป่วยด้วยภาวะความดันโลหิตสูง เบาหวา่น และหลอดเลือดสมองร้อยละ 15
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7700.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ที่มีภาวะกลุ่มเสี่ยงสูง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ที่มีภาวะกลุ่มเสี่ยงสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมอบรมฯ ในผู้ที่มีภาวะกลุ่มเสี่ยงสูง
- ค่าอาหาร จำนวน 50 คน คนละ 3 มื้อ มื้อละ 50 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท - ค่าอาหารว่างและเครืื่องดื่ม จำนวน 50 คน คนละ 6 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท - ค่าป้ายไวนิล เป็นเงิน 750 บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์(โมเดลเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ) 10,000 บาท - ค่าสัมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 คน คนละ 3 วัน วันละ 1 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 400 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท รวมเงิน 29,350 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ที่มีภาวะกลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมฯ จำนวน 50 คน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
29350.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 37,050.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. อสม.มีความรู้ ความเข้าใจความสำคัญของภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
2. กลุ่มเป้าที่มีความเสี่ยงได้รับความรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติ เพื่อควบคุมและลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
3. เกิดชุมชนเข้มแข็งในการสร้างสุขภาพที่ยั่งยืน


>