กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนอบต.ท่าบอน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

สำนักงานเลขานุการกองทุนฯ

องค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)

 

40.00
2 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)

 

19.00

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นระบบสุขภาพเชิงรุกของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยได้มีการนำแผนที่ยุทธศาสตร์(Strategy Map) หรือแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ แบบบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและการติดตามผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ดังนั้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหาร ส่วนตำบลท่าบอน บุคลากรที่เกี่ยวข้อง อันได้แก่ คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานฝ่ายเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน จึงได้จัดทำโครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุน ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
  • กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
  • กองทุนสุขภาพตำบลสามารถออกเงินสนับสนุนโครงการแก่ผู้รับทุน ภายใน เดือน ม.ค. จำนวนร้อยละ 60 และภายใน เดือน ก.ค.63 ร้อยละ 90
40.00 90.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

19.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 26

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 คณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และพี่เลี้ยงประจำกองทุนประชุมพิจารณาโครงการและขับเคลื่อนกองทุน

ชื่อกิจกรรม
คณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา และพี่เลี้ยงประจำกองทุนประชุมพิจารณาโครงการและขับเคลื่อนกองทุน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมพิจารณาเห็นชอบคำสั่งต่างๆ อนุมัติโครงการ และรับรองรายงานการเงิน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.มีการประชุมอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง 2.มีการอนุมัติโครงการและขับเคลื่อนกองทุน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32600.00

กิจกรรมที่ 2 คณะอนุกรรมการกองทุนประชุมพิจารณากรั่นกรอง/ติดตามโครงการและขับเคลื่อนกองทุน

ชื่อกิจกรรม
คณะอนุกรรมการกองทุนประชุมพิจารณากรั่นกรอง/ติดตามโครงการและขับเคลื่อนกองทุน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมพิจารณากรั่นกรองโครงการ 2.ประชุมติดตามประเมินผลโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.มีการประชุมพิจารณากรั่นกรองโครงการ อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง 2.ประชุมติดตามประเมินผลโครงการ อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17850.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับประกาศกองทุนสปสช. ปี 2561 และการใช้งานโปรแกรมกองทุน แก่คณะกรรมการและผู้ขอรับทุน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับประกาศกองทุนสปสช. ปี 2561 และการใช้งานโปรแกรมกองทุน แก่คณะกรรมการและผู้ขอรับทุน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.อบรมให้ความรู้คณะกรรมการและผู้ขอรับทุนเกี่ยวกับประกาศกองทุนสปสช. ปี 2561 และการใช้งานโปรแกรมกองทุน 2.ฝึกปฏืิบัติการใช้งานโปรแกรมกองทุน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะกรรมการและผู้ขอรับทุน จำนวน 20 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

กิจกรรมที่ 4 เจ้าหน้าที่หรือคณะกรรมการเข้าร่วมประชุมหรืออบรมเกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

ชื่อกิจกรรม
เจ้าหน้าที่หรือคณะกรรมการเข้าร่วมประชุมหรืออบรมเกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ค่าลงทะเบียน และอื่นๆ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เจ้าหน้าที่หรือคณะกรรมการได้เข้าร่วมประชุมหรืออบรมเกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
24550.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 81,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้ขอรับทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพ
2.สนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนมากขึ้น
3.ส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ บรรลุตามเป้าหมาย


>