กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการใส่ใจสุขภาพวันละนิด พิชิตโรคเรื้อรัง (ชมรมอสม.ม.3)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

ชมรม อสม.หมู่ที่3

1 นางเตือนใจ เกลี้ยงทอง
2 นางสาวธัญญารัตน์ เพชรรักษ์
3 นางสาวสุพรรษา จันทราชา
4 นางสำรวย นิ่มมณี
5 นางฉลวย สงเกิด

หอประชุมหมู่ที่ 3 ตำบลบ้านพร้าว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนในชุมชน ให้มีการเร่งรีบแข่งขันกับเวลาเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงเช่นการเร่งรีบกับการทำงานบริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงขาดการออกกำลังกายเครียดทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่นการรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม การตรวจสุขภาพจะช่วยให้ทราบว่าขณะนี้ร่างกายอยู่ในระดับไหน มีโรคร้ายแฝงอยู่หรือไม่ เพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนของโรค และมีคุณภาพชีวิตที่ดี การให้บริการตรวจสุขภาพเชิงรุกดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง อสม.ม.3 ต.บ้านพร้าว จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญให้ความสนใจและใส่ใจในสุขภาพของตนและคนในครอบครัว 2.เพื่อลดอัตราการเพิ่มของผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่หมู่ที่ 3

ตัวชี้วัดผลผลิต (Outputs) ร้อยละ 80  ของกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยโรคเรื้อรังน้อยกว่าร้อยละ 2

80.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการใส่ใจสุขภาพวันละนิด พิชิตโรคเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
โครงการใส่ใจสุขภาพวันละนิด พิชิตโรคเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. กิจกรรมการคัดกรอง      1.1 สำรวจกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป      1.2 คัดกรองสุขภาพ (วัดความดัน/ ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/)      1.3 อบรมให้ความรู้การจัดทำเครื่องดื่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
  2. ติดตามผลและรายงานผล งบประมาณ ค่าป้ายโครงการฯ 1x3 เมตร @150.- เป็นเงิน  450.-

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 80 คน x 1 มื้อ x 25 บาท  เป็นเงิน 2000.- - ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต 1 เครื่อง x 3,500 บาท เป็นเงิน 3500.- -ค่าเครื่องชั่งน้ำหนัก 1 เครื่อง x 1,500 บาท เป็นเงิน 1500.- -ค่าวิทยากร 3 ชม x 300 บาท เป็นเงิน 900.- -ค่าวัสดุในการทำน้ำสมุนไพร เป็นเงิน 1000.- รวมทั้งสิ้น  9350.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ตัวชี้วัดผลผลิต (Outputs)  ร้อยละ 80  ของกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยโรคเรื้อรังน้อยกว่าร้อยละ 2

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9350.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,350.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

-ร้อยละ 80ของกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักเกี่ยวกับ
-ภาวะสุขภาพ
อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยโรคเรื้อรังน้อยกว่าร้อยละ 2


>