กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านซ่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านซ่อง

รพ.สต.บ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านซ่อง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

 

80.00
2 ร้อยละของครัวเรือนเกษตรกรที่ทำเกษตรพันธะสัญญา

 

30.00
3 ร้อยละพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมด

 

60.00
4 ร้อยละของครัวเรือนที่ทำปศุสัตว์/ประมง ต่อครัวเรือนทั้งหมด

 

30.00
5 ร้อยละของครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน

 

72.00
6 ร้อยละของครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์

 

80.00
7 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

 

10.00
8 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

36.00
9 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร

 

8.00
10 ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

 

2.00
11 ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือนที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

 

40.00
12 จำนวนโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch

 

10.00
13 ร้อยละของประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

 

40.00
14 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

 

7.00
15 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

 

60.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

80.00 90.00
2 เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น

10.00 15.00
3 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ

36.00 40.00
4 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6  ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ

8.00 20.00
5 เพิ่มคุณภาพเด็กแรกเกิด

ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

2.00 1.00
6 เพิ่มเด็กแรกเกิดที่กินนมแม่

ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือนที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

40.00 80.00
7 เพิ่มการใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

จำนวนโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch

10.00 10.00
8 เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

ร้อยละของประชากร (อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

40.00 30.00
9 เพื่อลด เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะน้ำหนักเกินภาวะอ้วนลงพุง

ร้อยละของเด็ก 6-14 ปีที่มีน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

7.00 2.00
10 เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

60.00 80.00
11 เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)

ร้อยละพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมด

60.00 65.00
12 เพิ่มครัวเรือนที่ทำปศุสัตว์ ประมง

ร้อยละครัวเรือนที่ทำปศุสัตว์ ประมง ต่อครัวเรือนทั้งหมด

30.00 40.00
13 ลดครัวเรือนเกษตรกรที่ทำเกษตรพันธะสัญญา

ร้อยละครัวเรือนเกษตรกรที่ทำเกษตรพันธะสัญญา

30.00 20.00
14 เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน

ร้อยละครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน

72.00 100.00

1. เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดด้วยแผ่นกระดาษโคลินเอสเตอร์เลส
2. เกษตรกรที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม
3.เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติและปลอดภัยมีจำนวนเพิ่มขึ้น
4. ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยปราสจากสารเคมีปนเปื้อน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 82
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 30/06/2020

กำหนดเสร็จ 26/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีในเกษตรกร

ชื่อกิจกรรม
การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีในเกษตรกร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • อบรมความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  • ความรู้เรื่องการลดความเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมี
    -  ความรู้เรื่องการป้องกันอันตรายจากการใช้สารกำจัดศัตรูพืช
    • ความรู้เรื่องสมุนไพรเพื่อสุขภาพ และการใช้สมุนไพร ในการบำบัดรักษาเบื้องต้น
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนมีความรู้เรื่องการเลือกใช้สารเคมี เเละการป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
38410.00

กิจกรรมที่ 2 การบริโภคอาหารปลอดภัยปราศจากสารเคมี

ชื่อกิจกรรม
การบริโภคอาหารปลอดภัยปราศจากสารเคมี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การอบรมให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยปราศจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เเละสาธิตการฝึกปฎิบัติการล้างผักเเละผลไม้

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2563 ถึง 26 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยเเละสามารถล้างผักผลไม้เพื่อลดสารเคมีได้อย่างถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกร

ชื่อกิจกรรม
ตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รณรงค์ตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกรในชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มีนาคม 2563 ถึง 1 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ทราบข้อมูลสารเคมีในเลือดของเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อเป็นฐานข้อมุลในการเเก้ไขปัญหา 2.เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง กลุ่มไม่ปลอดภัย ได้ยาสมุนไพรราจืดเพื่อลดระดับสารเคมีในเลือดทุกราย
3.เกษตรกรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศัตรุพืช

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 41,410.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดด้วยแผ่นกระดาษโคลินเอสเตอร์เลส
2. เกษตรกรที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม
3.เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติและปลอดภัยมีจำนวนเพิ่มขึ้น
4. เกษตรกรและประชาชน มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม ปลอดภัย ปราสจากสารเคมี


>