กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการผู้พิการสุขภาพดี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

กลุ่มผู้พิการ เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

1. นายไสวเวทมาหะ
2. นายสมปองนุ่มประดิษฐ์
3. นายทวีวัฒน์เสาวิไล
4. นางสาวพิมใจแซ่ติ้ว
5. นางสาวสุวรรณีกูนิง

ศูนย์เรียนรู้ผู้สูงอายุและผู้พิการแบบบูรณาการ เทศบาลฯ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันตำบลสุไหงโก-ลก มีผู้พิการทุกประเภทที่ขอรับเบี้ยยังชีพผู้พิการจำนวน 690 คน คิดเป็นร้อยละ 1.45 ของประชากรทั้งหมด การให้ความรู้อบรมพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้พิการให้กับผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการเป็นเรื่องสำคัญ เพื่อส่งเสริมฟื้นฟูสมรรถภาพการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้พิการ แต่มีผู้พิการบางส่วนที่มีความยากลำบากในการออกมาร่วมกิจกรรมทางสังคม เนื่องจากปัญหาทางกายภาพ มีภาวะโภชนาการที่ไม่ดี มีสุขลักษณะที่ไม่เหมาะสม ขาดการดูแลสุขภาพที่ดี เพื่อให้ผู้พิการได้รับบริการด้านสาธารณสุขอย่างเหมาะสมทั่วถึงและต่อเนื่อง การให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสุขภาพเชิงรุก เช่น วัดความดันโลหิต ให้คำปรึกษาแนะนำการดูแลสุขภาพ ฯลฯ

ผู้พิการที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน และได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

0.00
2 2. เพื่อให้ผู้พิการมีสุขภาพกาย และสุขภาพใจที่ดี เสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่สำคัญในการดำรงชีวิตของคนพิการ

ผู้พิการที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีเปลี่ยนแปลงความรู้ และปฏิบัติเกี่ยวกับการดูแลตนเองของผู้พิการ

0.00
3 3. เพื่อกระตุ้นให้ผู้พิการ ตระหนักถึงคุณค่าของตัวเอง และแสดงศักยภาพที่ตนมีออกมาได้อย่างเต็มที่

ผู้พิการที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 เข้าร่วมโครงการตามวัน เวลา สถานที่

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 80
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2020

กำหนดเสร็จ 30/06/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม อบรมให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพอนามัย ตรวจสุขภาพผู้พิการ และเยี่ยมบ้านผู้พิการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม อบรมให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพอนามัย ตรวจสุขภาพผู้พิการ และเยี่ยมบ้านผู้พิการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
24600.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรม ห่วงใยผู้พิการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม ห่วงใยผู้พิการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 33,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้พิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสุขภาพเชิงรุก เช่น วัดความดันโลหิต ให้คำปรึกษาแนะนำการดูแลสุขภาพ ฯลฯ
2. ผู้พิการมีสุขภาพกาย และสุขภาพใจที่ดี เสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่สำคัญในการดำรงชีวิตของคนพิการ
3. ผู้พิการ ตระหนักถึงคุณค่าของตัวเอง และแสดงศักยภาพที่ตนมีออกมาได้อย่างเต็มที่


>