กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคติดต่อ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา มักจะมีอาการเจ็บป่วยอยู่เสมอ อาการที่พบบ่อยได้แก่ ไข้หวัด

 

60.00

เนื่องจากเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา มักจะมีอาการเจ็บป่วยอยู่เสมอ อาการที่พบบ่อยได้แก่ ไข้หวัด ส่วนการเจ็บป่วยอื่นๆ จะมีบ้างเป็นระยะ อาจจะส่งผลในด้านสุขภาพร่างกายรวมถึงพัฒนาการของเด็ก และผู้ปกครองยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการประเมินพัฒนาการและกระตุ้นพัฒนาการเด็กในด้านต่างๆในการนี้ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเห็นความสำคัญกับปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเพื่อจะได้ประเมินเด็กที่เจ็บป่วยก่อนรับเข้าดูแล ป้องกันการติดต่อของโรค และเพื่อให้ผู้ปกครองได้รู้จักวิธีการส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการของเด็กอย่างถูกวิธี

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก เรื่องการดูแลสุขภาพร่างกายและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน

กลุ่มเป้ากมายเข้าร่วมโครงการเกินร้อยละ 90

0.00
2 เพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อและการขาดเรียนเนื่องจากการเจ็บป่วยลดลง

จำนวนเด็กขาดเรียนเนื่องจากเจ็บป่วยลดลง

60.00 40.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 67
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 20/05/2020

กำหนดเสร็จ 20/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
การอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพร่างกายและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กก่อนวัยเรียน -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 67 คน คนละ 60 บาท เป็นเงิน 4,020 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คนๆละ 2 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท -ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน 500 บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์ ค่าเอกสาร เป็นเงิน 1,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เป้าหมายเข้าร่วมการอบรม  ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6920.00

กิจกรรมที่ 2 การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค

ชื่อกิจกรรม
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.การประเมินเด็กป่วยก่อนรับเข้าดูแลใน ศพด. 2.การฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคด้วยตนเอง -ค่าโฟมล้างมือ 250 มล. จำนวน 31 ขวดๆละ 80 บาท เป็นเงิน 2,480 บาท -ค่าเจลล้างมือ ขนาด 450 มล. จำนวน 16 ขวดๆละ 162.50 บาท เป็นเงิน 2,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เด็กได้รับการประเมินการเจ็บป่วยก่อนรับเข้าดูแลใน ศพด. ทุกคน 2.เด็กได้รับการฝึกและปฏิบัติตนในการเข้าห้องน้ำ และล้างมือ อย่างถูกวิธี ทุกคน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5080.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,000.00 บาท

หมายเหตุ :
สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและแม่ครัวได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคติดต่อ
2.ช่วยลดการขาดเรียนเนื่องการป่วยของเด็ก
3.เด็กได้มีวัสดุอุปกรณ์การป้องกันโรคและการรักษาความสะอาดของร่างกายที่มีคุณภาพ


>