กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง รหัส กปท. L3053

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมและป้องกันการเกิดโรคติดต่อทางอวัยวะสืบพันธ์ุเพศชาย ประจำปีงบประมาณ 2563
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
3.
หลักการและเหตุผล

การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นแนวปฏิบัติของมุสลิมเพื่อการักษาความสะอาดรวมทั้งช่วยป้องกันและลดปัญหาการเกิดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ชีฟิลิส โรคมะเร็ง โรคมะเร็งปากมดลูกของฝ่ายหญิงลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์ได้กว่าร้อยละ 50 – 60 นพ.อนุพงศ์ ชิดวรากร นายแพทย์ทรงคุณวุฒิด้านเวชกรรมป้องกัน กรมควบคุมโรค กล่าวในงานสัมมนาระดับชาติเรื่อโรคเอดส์ครั้งที่ 12 ระหว่างวันที่ 27 – 29 พฤษภาคม 2555 ที่จัดขึ้น ณ อิมแพ็คเมืองทองธานี เปิดเผยถึงผลการวิจัยที่ทำร่วมกันสหรัฐอเมริกาพบการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายสามารถลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV ได้ร้อยละ 50 – 60 เนื่องจากผิวหนังบริเวณนี้ จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่า smegma หรือขี้เปียก หากมีหนังหุ้มไม่สามารถเปิดออกล้างได้ จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ซึ่งจะก่อให้เกิดกลิ่น การติดเชื้อรวมเกิดมะเร็งที่องคชาติได้ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ผู้ขลิบจะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซีฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติและถ้าหากขลิบในเด็กทารกก็จะลดโอกาสเกิดการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กได้ด้วย ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบจะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และลดอัตราเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกด้วย โดยสรุปแล้วการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย หรือ ‘ดีตาลในภาษาอาหรับหรือ’ทำสุนัตที่ใช้ในภาษามลายู มีประโยชน์หลายอย่างเช่นลดอันตรายการเกิดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (URINARY TRACE INFETION) ในเด็กเล็กลดอัตราการเกิดมะเร็งองคชาติลดอัตราการเกิดมะเร็ง 1 ต่อ 100,000 ลดอัตราการติดเชื้อทางระบบสืบพันธุ์ (SEXUAL TRANSMTTED DISEASE) บางชนิด เนื่องจากลดผิวหนังด้านในที่จะรับเชื้อป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับหนังหุ้มปลายเชิงภาวะพาราไพโมซิสป้องกันภาวะหนังหุ้มปลายตีบตัน ง่ายต่อการทำความสะอาดอวัยวะเพศลดอัตราการเป็นมะเร็งปากมดลูกในผู้หญิง การขลิบช่วยลดอัตราการ ติดเชื้อ HIV ซึ่งเป็นสาเหตุการเกิดมะเร็งปากมดลูกในเพศหญิง เด็กและเยาวชนมุสลิมภาคใต้ มักจะทำสุนัตกับหมอบ้าน หรือโต๊ะมูเด็ง เป็นเพราะความเชื่อและประเพรีที่คนเฒ่าคนแก่เคยทำกัน “เป็นต้นซึ่งที่ผ่านมาพบว่าการทำสุนัตกับโต๊ะมูเด็งมักมีเหตุการณ์เลือดออกมา (bleeding) ทำให้เกิดภาวะช๊อค หรือการติดเชื้อ เช่น ติดเชื้อตับอักเสบ เชื้อ HIV จากการใช้เครื่องมือร่วมกันโดยไม่ได้ล้างทำความสะอาดอย่างถูกวิธี” ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินโครงการดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุตามวัตถุประสงค์จึงอาศัยอำนาจตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และภายใต้บังคับแห่งกฎหมายเทศบาลตำบลมีหน้าที่ป้องกันและระงับโรคติดต่อ และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2524 มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (19) การสาธารณสุข การอนามัย ครอบครัว และการรักษาพยาบาล เทศบาลตำบลตะบิ้ง ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการทำสุนัตโดยทีมแพทย์พยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อความสะอาด ถูกหลักอนามัยของผู้เข้าทำสุนัตจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมและป้องกันการเกิดโรคติดต่อทางอวัยวะสืบพันธุ์เพศชายตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2563 ขึ้นต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม โดยแพทย์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะเลือดออกมาก (bleed)
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเด็กและเยาวชนมุสลิมเข้าร่วมโครงการ
    รายละเอียด
    • ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเด็กและเยาวชนมุสลิมเข้าร่วมโครงการ จัดทำโครงการเสนอเพื่อขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตะบิ้ง ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ
    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ)
    รายละเอียด
    • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ป้าย (ป้ายไวนิล ขนาด 1*3 เมตร) เป็นเงิน 1,050 บาท
    • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 ชุดๆละ 80 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 ชุดๆละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท
    • ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรร์ในการอบรม จำนวน 50 ชุดๆละ 40 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
    งบประมาณ 13,150.00 บาท
  • 3. กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
    รายละเอียด
    • ค่าบริการทางการแพทย์ในการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย จำนวน 50 คนๆละ 800 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท
    งบประมาณ 40,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 2 มีนาคม 2563 ถึง 9 เมษายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

ณ องค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 53,150.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. สามารถทำให้การรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
  2. สามารถทำให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนใต้สามารถเข้าถึงบริหารด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
  3. สามารถบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิม โดยแพทย์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะเลือกออกมาก (beed)
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง รหัส กปท. L3053

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง รหัส กปท. L3053

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 53,150.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................