กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโนรี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริม 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโนรี

โรงเรียนบ้านตุปะ

โรงเรียนบ้านตุปะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนครูและเด็กนักเรียนมีภาวะเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพร่างกายและจิตใจ

 

42.00
2 จำนวนครูและเด็กนักเรียนขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและจิตใจ

 

42.00
3 จำนวนครูและเด็กนักเรียนขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ

 

42.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเด็กและพัฒนาการที่ดี

ครูและเด็กมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยจากเจ้าหน้าที่รพ.สต.ควนโนรี

42.00 42.00
2 เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีการออกกำลังกายอย่างง่ายตามความเหมาะสมและส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

เด็กรู้วิธีการออกกำลังกายอย่างง่ายโดยเต้นกิจกรรมประกอบจังหวะหรือแอโรบิค

40.00 40.00
3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรักในการดูแลสุขภาพโดยการจัดกิจกรรม 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์)

เด็กมีอารมร์ดี แจ่มใส มีพัฒนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย

40.00 40.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 2
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 12/06/2020

กำหนดเสร็จ 12/06/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 หนูน้อยสุขภาพดีตามหลัก 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์)

ชื่อกิจกรรม
หนูน้อยสุขภาพดีตามหลัก 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม - เจ้าหน้าที่จากรพ.สต.ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. - นักเรียนแกนนำร่วมสาธิตวิธีการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. และให้นักเรียนปฏิบัติตาม          - สาธิตการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ          - สาธิตการออกกำลังกายอย่างง่าย          - สาธิตวิธีการสร้างพฤติกรรมอารมณ์ที่ดี - เจ้าหน้าที่ตรวจสุขภาพตามหลัก 3 อ. ให้กับเด็กนักเรียน          - ตรวจร่างกาย  : ผม ตา จมูก หู ช่องปากและฟัน          - ทำแบบสัมภาสด้านอารมณ์          - เต้นเพลงประกอบจังหวะ โดยมีวิทยากรและนักเรียนแกนนำเป็นผู้นำเต้น - วิทยากร ครูและนักเรียนบันทึกภาพร่วมกัน
- รายงานผลโครงการ
งบประมาณ 1. ค่าตอบแทนวิทยากร ( 1 คน x 250 บาท x 6 ชม.) = 1,500 บาท 2. ค่าอาหารว่าง ( 2 มื้อ x 25 บาท x 42 บาท ) = 2,100 3. ค่าวัสดุในการอบรม =  1,775 บาท 4. ค่าไวนิล (1 ผืน x 1.25 x 2 เมตร x 250บาท) = 625 บาท 5. ค่าวัสดุในการตรวจสุขภาพ (40 ชุด x 10บาท) = 400 บาท 6. ค่ากระดาษ a4 ( 1รีม x 750 บาท ) = 750 บาท รวมทั้งสิ้น 5,375 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • นักเรียนและครูมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. (ด้านอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการอารมณ์)
  • การจัดกิจกรรมนอกจากช่วยให้ร่างกายแข็งแรงแล้วยังช่วยให้อารมณ์ดี ลดความเครียด นอนหลับสนิทและต่อเนื่องมากขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5375.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 5,375.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ครูและเด็กนักเรียนมีความรุ้เกี่ยวกับสุขภาพตามหลัก 3 อ.
2. เด็กนักเรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะการออกกำลังกายแบบง่ายโดยการเต้นตามเพลงประกอบจังหวะ หรือแอโรบิค ทำให้เด็กมีอารมณ์ดี แจ่ใส มีพัฒนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย


>