กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมกิจกรรมขยับ เคลื่อนกาย สร้างสุขภาพ โรงเรียนประชาอุทิศบ้านโคกม่วง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง

โรงเรียนประชาอุทิศบ้านโคกม่วง

โรงเรียนประชาอุทิศบ้านโคกม่วง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

100.00
2 ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายเช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

 

100.00

ปัจจุบันสังคมของคนไทยเริ่มเปลี่ยนไปจากอดีต ดังจะเห็นได้จากบริบทการทำงาน เศรษฐกิจ และ วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป มีการแข่งขันทั้งทางด้านข่าวสารสารสนเทศและเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตของคนในสังคม ต้องเร่งรีบและแข่งขันตามกลไกเศรษฐกิจ แต่ในความเจริญนั้นก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เกิดขึ้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาอาชญากรรม สุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ แต่ระบบเศรษฐกิจนั้นยังคงดำเนินไปเรื่อยๆ โดยทรัพยากร สำคัญที่สุดคือทรัพยากรมนุษย์นั้นไม่ยั่งยืนและพัฒนาขึ้น เพราะร่างกายมนุษย์เสื่อมลงตามกาลเวลา ประกอบกับมลภาวะทางสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น แต่เวลาในการดูแลสุขภาพของตนเองกลับน้อยลง เกิดปัญหาด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น การออกกำลังกาย เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งต่อการมีสุขภาพที่สมบูรณ์และแข็งแรงทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ รวมทั้งมีภูมิต้านทานโรค สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายในด้านการรักษาพยาบาลของประชาชน และเป็นการส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมมีการขยับกาย เคลื่อนไหวทางกาย ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ห่างไกลยาเสพติด และเป็นการเสริมสร้างความสามัคคีและสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ซึ่งที่ผ่านมาโรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการขยับ เคลื่อนไหวทางกาย โดยการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพให้แก่นักเรียนทุกกลุ่มวัยในโรงเรียนชุมชน และหมู่บ้าน อย่างต่อเนื่อง
• คณะกรรมการสถานศึกษาครู และประชาชนในพื้นที่ได้เล็งเห็นความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพของนักเรียนในชุมชน จึงได้มีการจัดประชุมปรึกษาหารือระดมความคิดเห็นในการแก้ไขปัญหา เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ ลดความเสี่ยงในการเกิดโรค และสร้างความรักสามัคคีในโรงเรียนและชุมชน จึงได้จัดโครงการส่งเสริมการเคลื่อนไหว ขยับกาย ด้วยการบูรณาการกีฬาต่างๆยามเย็นขึ้นมาเพื่อนำเสนอของบประมาณขึ้น เพื่อให้ครู นักเรียน คนในชุมชน มีความตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกายการมีสุขภาพที่แข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ และส่งเสริมสุขภาพจิต และให้กลุ่มเป้าหมายหลีกไกลจากสารเสพติดและการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องพร้อมทั้งสร้างแกนนำ ในการออกกำลังกายของโรงเรียนชุมชน ทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมขยับ เคลื่อนกาย สร้างสุขภาพ โรงเรียนประชาอุทิศบ้านโคกม่วงเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยงต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และความสามารถดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง และมีภูมิคุ้มกันที่ดีต่อภัยคุกคามสุขภาพ

ร้อยละ 70 ของนักเรียนในโรงเรียบมีความรู้และสามารถดูแลรักษาสุขภาพของตนเองได้

100.00 70.00
2 บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่ เด็กและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลตุยง เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก(bleeding)

ร้อยละ 70 นักเรียนในโรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจในทักษะกีฬาเปตอง

100.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 พัฒนาองค์ความรู้ สร้างการมีส่วนร่วม

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาองค์ความรู้ สร้างการมีส่วนร่วม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบรมให้ความรู้หัวข้อเรื่อง
    “สุขภาพอันพึงประสงค์ ในวัยเรียน” - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  35 บาท x 70 คน x 2 มื้อ
  เป็นเงิน  4,900 บาท
- ค่าวิทยากร 4 ชม.ๆละ 600 บาท   เป็นเงิน  2,400  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7300.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมปรับทัศนคติ การขยับกาย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมปรับทัศนคติ การขยับกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหว ขยับกาย     (อบรมทักษะ กติกาต่างๆของกีฬาเปตอง) - ค่าวัสดุ อุปกรณ์
  เป็นเงิน 4,700 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4700.00

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการขยับ เคลื่อนไหวทางกาย

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการขยับ เคลื่อนไหวทางกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกาย โดยกีฬาเปตอง อย่างต่อเนื่อง(จัดกิจกรรมอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน) - ไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกาย โดยกีฬาเปตอง อย่างต่อเนื่อง(จัดกิจกรรมอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 สรุปผลการดำเนินงาน และถอดบทเรียน

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินงาน และถอดบทเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามประเมินผลโครงการและสรุปรูปเล่มรายงานกองทุนฯ - ไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีตามวัยของเด็กในวัยเรียน
2. ผู้ปกครอง ประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักให้ความสำคัญกับการออกกำลังกาย
3. มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องใส่ใจในการดูแลสุขภาพมากขึ้นส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง โดยกีฬาเปตองหรือกีฬาอื่นๆ
4. นักเรียนมีความรู้เรื่องสุขภาพเพิ่มขึ้น เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ มีภูมิคุ้มกันที่ดี
5. นักเรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ร่างกายแข็งแรง มีพัฒนาการทางร่างกายและการเรียนรู้ปกติ
6. นักเรียนมีการฝึกฝนในด้านสมาธิเพิ่มขึ้น


>