กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไม้ฝาด

-

หมู่ 1 2 3 8 และ 9

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สภาพปัจจุบันปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุข ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากประชาชนมี่พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวแและะชุมมช ซึ่งจากสถานการณ์ปัญหาสาธารณสุขที่เป็นอยุ่ในปัจจุบันพบว่า กลุ่มโรค Metbolic โดยเฉพาะโรคอ้วนลงพุง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน กำลังเป็นปัญหาสำคัญในทุกพื้นที่ อีกยังมีแนวโน้มเป็นปัญหาแนวโน้มในอนาคต ปัจจัยสำคัยที่ก่อให้เกิดปัญหากลุ่มโรค Metabolic ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง การรับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอ ตลอดจนสภาพปัญหาทางจิตใจ อารมณ์ และความเครียด การเสริมสร้างให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ดี สามารถจัดการลดความเสี่ยงของตนเองได้ จะเป็นกลไกพื้นบานที่สำคัญของการป้องกันและควบคุมโดยเฉดพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยง ซึ่งการสร้างความรู้ความเข้าใจอย่างเดียว ไม่เพียงพอที่จะทำให้เกิดความตระหนักในการเปลี่ยนแปลงสุขพาพได้ การจำกิจกรรมฝึกทักษะและการเสริมสร้างพลังแก่กลุ่มเป้าหมายจึงจำเป็นต้องควบคู่กับการให้ความรุ้ ความเข้าใจนำไปสู่การปฏิบัติ นอกจากนี้การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งในครอบครัวและชุมชนก จะส่งผลให้ประชาชนตระหนักและมีพฤติกรรมที่ดีได้ ดังนั้นจึงสมควรอย่างยิ่งที่จะเร่งดำเนินการทำงานเชิงรุกในชุมชน เพื่อตวรจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มที่มีอายุ 34 ปีขึ้นไป และให้การวินิจฉัยโรคในระยะเริ่มต้น รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคและป้องกันภาวะแทรหซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ต่อไป ซึ่งทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไม้ฝาดจัดตั้งคลินิก DPAC ในหน่วยงานเพื่อให้บริการคลินิกผู้ป่วยเรื้อรัง ซึ่งผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุศัีกยภาพในการดูแลตนเองไม่เต็มที่เนื่องจากปัจจัยหลายๆอย่าง เพื่อให้สามารถควบคุมโรคได้และลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ควรมีการส่งเสริมศักยภาพในการดูแลตนเอง เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ในการทำให้ประชาชนมีสุขภาพดีโดยถ้วนหน้า ผลจากการดำเนินงานตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพของประชาชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไม้ฝาด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ที่ผ่านมา จากกลุ่มเป้าหมาย 2,351 ราย พบว่า มีผู้เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 560 ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไม้ฝาด ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในชุมชนดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและลดโรค ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไม้ฝาดและได้บูรณาการร่วมกับองค์ารบริหารส่นวตำบลกายูคละ สนับสนุนให้ชุมชนมีการจัดการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพด้านต่างๆ ที่เอื้อต่อการให้กลุ่มเสี่ยงสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม และส่งเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถุกต้องเหมาะสม และส่งเสริมการมีรพฤติกรรมสุขภาพที่ดีแก่กลุ่มประชาชนทั่วไปซึ่งยังไม่มีความเสี่ยง ทั้งนี้การจัดการชุมชนให้สามารถลดปัจจัยเสี่ยงสุขภาพด้านต่างๆต้องดำเนินการควบคู่ไปด้วยกัน ทั้งการจัดการสภาพแวดล้อมของชุมชนให้เอื้อต่อการลดโอกาสเสี่้ยง เช่น การกำหนดมาตรการสังคมของชุมชน และการให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลที่ถูกต้อง รวมถึงมีความรู้ความเข้าใจจนเกิดความตระหนัก สามารถดูแลสุขภาพและจัดการกับตนเอง และครอบครัวให้สามารถดูแลสุขภาพและจัดการกับตนเอง และครอบครัวให้สามารถควบคู่พฤติกรรมสุขภาพอยุ่ในระดับที่เหมาะสมลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรค Metabolic มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม

ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ไม่เกิน ๑๓๐/๘๐ มม.ปรอท  และควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด  ไม่เกิน 100

560.00 1.00
2 เพื่อจัดบริการเชิงรุกในการคัดกรองภาวะสุขภาพ ประเมินพฤติกรรมเสี่ยง

ร้อยละ ๘๐ ผู้ป่วยเรื้อรัง สามารถควบคุมโรคได้

560.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 560
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/02/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีรายละเอียดดังนี้ ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บ. X 6ชม. x 5 รุ่น = 18,000บ.
ค่าอาหารกลางวัน 50 บ. x 112 คน x 5 รุ่น = 28,000 บ. ค่าอาหารว่าง 25 บ. 2 มื้อ x 112 คน x 5 รุ่น =28,000บ. ค่าวัสดุอุปกรณ์ = 20,000 บ. ค่าป้ายโครงการ= 1,000 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
95000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 95,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง และเบาหวานในหมู่บ้านได้รับการดูแลสุขภาพต่อเนื่อง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมลดโอกาสการเกิดโรค
2.ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่
3.ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถสร้างมาตรการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนเองได้
4.หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคMetabolicได้ถูกต้อง เหมาะสมโดยใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐาน


>