กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยง อายุ 30-60 ปี (เขตเทศบาลตำบลท่ามะเขือ) ปีงบประมาณ 2563

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเขือ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยง อายุ 30-60 ปี (เขตเทศบาลตำบลท่ามะเขือ) ปีงบประมาณ 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเขือ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะเขือ

นางลมัย บัวสุด

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่ามะเขือ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม (สตรีกลุ่มเสี่ยง อายุ 30-60 ปี)

 

20.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้สตรี ที่มีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม

ร้อยละ 20 ของสตรีอายุ 30- 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี pap smear

20.00 0.00
2 เพื่อให้สตรีที่มีอายุ 30-70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้องทุกเดือน อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ร้อยละ 80 ของสตรีกลุ่มเป้าหมาย ตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง

80.00 0.00
3 เพื่อลดอัตราการป่วยและตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ร้อยละ 100 ของผู้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยและรักษา

100.00 0.00
4 เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบเป็นโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์และรับการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง และต่อเนื่อง

สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และตระหนักในเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมสามารถสาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง

100.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
สตรีกลุ่มเสี่ยง ที่มีอายุ 30-60 ปี 130

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อมรมให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ชื่อกิจกรรม
อมรมให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม การดูแลสุขภาพและการปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากโรค และวิธีการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง จำนวน 130 คน ค่าจ้างเหมาจัดทำอาหารว่าง พร้อมเครื่องดื่ม สำหรับผู้มารับการอบรมและรับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 130 คน ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 3,900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สตรีกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม จำนวน 130 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 3,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ร้อยละ 20 ของสตรีอายุ 30- 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี pap smear
2. ร้อยละ 80 ของสตรีกลุ่มเป้าหมาย ตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
3. ร้อยละ 100 ของผู้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยและรักษา
4. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และตระหนักในเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมสามารถสาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง


>