กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน รหัส กปท. L5169

อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มนวดไทยและผู้สนใจ ด้านการดูแลแม่หลังคลอดและผู้ป่วยอัมพฤต/อัมพาต ด้วยวิถีภูมิปัญญาไทย
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
กลุ่มนวดไทยทุ่งลาน
กลุ่มคน
1.นายประจวบเพ็ชรโภคา
2.นางสัจจาบุญชูช่วย
3.นางหนูฟองทองแก้ว
4.นางเสน่หายติวัฒน์
5.นางเฉลาเส้งสกูล
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันสภาวการณ์ด้านสุขภาพของประชาชนตำบลทุ่งลาน มักประสบปัญหาการเจ็บป่วยโดยโรคเรื้อรังบ่อย โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง ไขมันในหลอดเลือดหัวใจ อัมพฤกษ์/อัมพาต เป็นต้น อันเกิดจากการรับประทานเชิงเดี่ยว และพืชอาหารที่ไม่ถูกกับธาตุทำให้เกิดการกินอาหารไม่ต้านทานโรค และขาดการดูแลสุขภาพตนเองด้วยวิถีทางภูมิปัญญาไทยที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วย และเกิด โรคต่าง ๆเกิดขึ้นตามมามากมาย ทำให้ครัวเรือนต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาเป็นจำนวนมากซึ่งโรคส่วนใหญ่มักจะเกิดกับผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่ร่างกายอ่อนแอดังนั้นพฤติกรรมการก่อโรคส่วนใหญ่เกิดจาก พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เป็นพืชสมุนไพรอาหารและสมุนไพรที่มีฤทธิ์ทางยาของประชาชนตำบลทุ่งลาน น้อยมากและปัจจุบันมีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรค อัมพฤกษ์/อัมพาต จำนวนมาก และเพิ่มมากขึ้นทุกปี ด้านการดูแลมารดาหลังคลอด พบว่ากลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ได้รับการดูแลหลังคลอดแบบปัจจุบันเป็นส่วนใหญ่ร้อยละ 91 (ข้อมูล30กันยายน2563) ไม่เคยได้รับการดูแลแบบดั้งเดิม ซึ่งการดูแลแบบดั้งเดิมนี้ยังประโยชน์ ช่วยลดภาวะการเกิดโรคมะเร็งมดลูกและเต้านมลดการอักเสบต่าง ๆ บำรุงผิวพรรณมารดาโดยใช้องค์ความรู้การทับหม้อเกลือหน้าท้อง การเข้ากระโจมอบสมุนไพรส่งเสริมป้องกันโรค และการใช้ยาขับน้ำคาวปลา ดังนั้นเพื่อเพิ่ม อัตราการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิถีภูมิปัญญาไทยดั้งเดิม การดูแลผู้ป่วยโรค อัมพฤกษ์/อัมพาตดังกล่าวข้างต้นตลอดจนการใช้พืชสมุนไพรอาหารและสมุนไพรเป็นยาลดอัตราการเจ็บป่วยดังกล่าว และส่งเสริมการดูแลมารดาหลังคอดด้วยวิถีไทยดังเดิมที่เป็นประโยชน์ลดโรค จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มนวดแผนไทยและผู้สนใจด้านการดูแลแม่หลังคลอดและผู้ป่วยอัมพฤกษ์/อัมพาตด้วยวิถีภูมิปัญญาไทย ตำบลทุ่งลาน ปีงบประมาณ 2563ขึ้นมาเพื่อดำเนินการในพื้นที่ต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพเพิ่มขีดความสามารถของกลุ่มนวดไทยและผู้สนใจในการดูแลมารดาหลังคลอดและการดูแลผู้ป่วย อัมพฤกษ์/อัมพาตด้วยวิถีภูมิปัญญาไทย แก่กลุ่มเป้าหมาย
    ตัวชี้วัด : ผู้ผ่านการอบรมความรู้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลมารดาหลังคลอดและ การดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์/อัมพาต ด้วยวิถีภูมิปัญญา เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อส่งเสริมค่านิยม การดูแลมารดาหลังคลอด การดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์/อัมพาต ด้วยวิถีภูมิปัญญาไทย สมุนไพรในครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ครัวเรือน การดูแลมารดาหลังคลอด และการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์/อัมพาต ด้วยวิถีภูมิปัญญาไทย สมุนไพรในครัวเรือนไม่น้อยกว่าร้อยละ30
    ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 30.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมกลุ่มนวดไทยและผู้สนใจที่ผ่านการอบรมความรู้ในการดูแลมารดาหลังคลอด และ การดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์/อัมพาต ด้วยวิถีภูมิปัญญาไทยและเป็นแกนนำในการกระตุ้นให้ครัวเรือนตระหนักหันมาใช้วิถีภูมิปัญญาไทย สมุนไพร
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ครัวเรือนเข้าถึงการดูแลมารดาหลังคลอด การดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์/อัมพาต ด้วยวิถีภูมิปัญญาไทยและการใช้สมุนไพรเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ30
    ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 30.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ให้ความรู้และสาธิตวิธีการดูแลมารดาหลังคลอด และ การดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์/อัมพาต ด้วยวิถีภูมิปัญญาไทย
    รายละเอียด

    จัดกิจกรรมให้ความรู้และสาธิตให้ผู้ร่วมกิจกรรม จำนวน 30  คน 5 วัน

    สรุปรายการจ่ายเงิน  ดังนี้ 1.ค่าอาหารกลางวัน /อาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม จำนวน 30 คน X 100 บาท X  5 วัน  เป็นเงิน  15,000 บาท 2.ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน X  30 ชั่วโมง X 600  บาท  เป็นเงิน  18,000  บาท 3.ค่าเอกสาร/อุปกรณ์ สำหรับผู้เข้าอบรม  จำนวน 30 ชุด X 120 บาท  เป็นเงิน    3,600 บาท (ผนวก 1) 4.ค่าชุดสมุนไพรการดูแลหลังคลอด ลูกประคบ สมุนไพรสาธิต(สด/แห้ง)3 ชุด X 2,500  บาทเป็นเงิน  7,500 บาท

    งบประมาณ 44,400.00 บาท
  • 2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชน/องค์กร ต้นแบบการนำวิถีภูมิปัญญาไทย
    รายละเอียด

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชน/องค์กร ต้นแบบการนำวิถีภูมิปัญญาไทย มาใช้ในการดูแลสุขภาพแม่หลังคลอด  การดูแลผู้ป่วยโรค อัมพฤกษ์/อัมพาต 1  ครั้ง (นอกพื้นที่)

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

กบุ่มนวดไทยทุ่งลาน

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 44,400.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.กลุ่มนวดไทย และผู้สนใจ ที่ได้รับความรู้ สามารถนำไปใช้ดูแลมารดาหลังคลอด / ดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์/อัมพาต ตลอดจนใช้พืชสมุนไพรอาหารและสมุนไพรเป็นยาด้วยวิถีภูมิปัญญาไทย ที่ถูกต้อง ในการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค 2.ผู้ผ่านการอบรมความรู้ มีความสามารถในการดูแลมารดาหลังคลอดดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์/อัมพาต ตลอดจนใช้พืชสมุนไพรอาหารและสมุนไพรเป็นยาด้วยวิถีภูมิปัญญาไทย ที่ถูกต้อง ในการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และเป็นแกนนำชักชวนให้มีการใช้วิถีภูมิปัญญาไทย/ สมุนไพรในครัวเรือน 3. เกิดค่านิยมอย่างต่อเนื่องในการดูแลสุขภาพด้วยการใช้สมุนไพรเป็นอาหารและยา ในการส่งเสริมสุขภาพ 4.ครัวเรือนมีความตระหนักหันมาใช้วิถีภูมิปัญญาไทยดั้งเดิม ดูแลมารดาหลังคลอดดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์/อัมพาตตลอดจนใช้พืชสมุนไพรอาหารและสมุนไพรเป็นยามากขึ้น

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน รหัส กปท. L5169

อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน รหัส กปท. L5169

อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 44,400.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................