กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาด รพ.สต.คลองแงะ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองงแงะตำบลน้ำขาวอำเภอจะนะจังหวัดสงขลา

1.นางนฤมลสวนอินทร์
2.นางสาวฝีเหย๊าะเอียดหนัน
3.นางกรรณิการ์พรุเพชรแก้ว
4.นางโฉมบุญยอด
5.นางลำดวนอินไชยทอง

รพ.สต.คลองแงะหมู่ที่ 2,4,7,8,และ11 ตำบลน้ำขาวอำเภอจะนะจังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)

 

3.00
2 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน)

 

50.00
3 3.จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรีย(คน)

 

2.00
4 4.จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟไหม้ป่า(คน)

 

2.00
5 5.จำนวนเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)

 

242.00

โรคติดต่อเป็นโรคที่เกิดจาดเชื้อดรคเข้าไปเพิ่มจำนวนในร่ากาย อาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเป็นจากตัวเชื้อดรคเองหรือพิษที่เชื้อโรคนั้นปล่อยออกมา เชื้อโรคจะติดตอถ่ายทอดจากผู้ป่วยโดยตรงหรือโดยอ้อมไปสู่คนปกติบางครั้งเรียกว่า โรคติดเชื้อแทนคำว่า โรคติดต่อ สำหรับในเขตร้อน อากาศอบอุ่นจนถึงร้อนจัดตลอดปี และมีฝนชุก มีความชื้นสูง เป็นผลให้เชื้อโรคต่างๆชุกชุม เมื่อมีการติดต่อถ่ายทอดไปยังผู้อื่น ก็จะทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคมากขึ้นจึงต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน และมีมาตรฐานในแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย ที่เข้ารับการรักษาเกี่ยวกับโรคต่างๆเช่น โรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย ไข้หวัดนก ดรคซาร์ส โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือเท้าปาก และโรคอื่นที่อุบัติใหม่ ฯลฯ เป็นต้น ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินจำนวนมาก ซึ่งกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำขาวถือเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการด้านการสนับสนุน ส่งเสริมฟื้นฟู และระงับโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ดังนั้น เพื่อให้การป้องกันควบุคมและเฝ้าระวังโรคระบาด เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพจึงได้จัดทำดครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาด เพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนได้มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง เป็นการแก้ไขปัญหาการระบาดของดรคติดต่อ ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุม และเฝ้าระวังดรคติดต่อในชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)

3.00 2.00
2 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม

สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน)

50.00 2.00
3 1.เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคระบาดในชุมชนและโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในหมู่บ้าน  ในโรงเรียน และกลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชน

2.00 2.00
4 2.เพื่อให้แกนนำชุมชน อสม. ภาคีเครือข่ายและประชาชน มีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมในชุมชนและในโรงเรียน

๒.กิจกรรมรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคระบาดในชุมชน

2.00 2.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเจ้าหน้าที่และ อสม.

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเจ้าหน้าที่และ อสม.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเจ้าหน้าที่และ อสม.เรื่องโครงการและชี้แจงแนวทางการทำงาน มีค่าใช้จ่าย ดังนี้ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คนๆละ 25 บาทเป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เจ้าหน้าที่และอสม. เข้าใจและทราบแนวทางการดำเนินงานโครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้แก่ประชาชน

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้แก่ประชาชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป ณ ที่ประชุมศาลาประจำหมู่บ้านทั้ง5 หมุ่บ้าน(ม.2,4,7,8และ 11ต.น้ำขาว อ.จะนะ จ.สงขลา มีค่าใช้จ่าย ดังนี้ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 250 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 6,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อ เช่น โรคไข้เลือดออก โรควัณโรค ฯลฯ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6250.00

กิจกรรมที่ 3 รณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคระบาด

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคระบาด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคระบาด รพ.สต.คลองแงะ มีค่าใช้จ่าย ดังนี้ 1. ค่าอาหารว่าง จำนวน 150 คนๆละ 25 บาทเป็นเงิน 3,750 บาท 2. ค่าวัสดุุน้ำมันทูทีหล่อลื่น จำนวน 2 กระป๋องๆละ 80 บาท เป็นเงิน 160 บาท 3. ค่่าวัสดุน้ำมันเบนซิล จำนวน 5 แกลลอนๆละ 150 บาท เป็นเงิน 750 บาท 4. ค่่าน้ำมันโซล่าจำนวน100 ลิตรๆละ 30 บาทเป็นเงิน 3,000 บาท 5. ค่าน้ำยาสำหรับเครื่องพ่นULVจำนวน 1 ขวดๆละ 2,800 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท 6. ค่าทรายอะเบท จำนวน 1 ถังๆละ 5,000 บาท เป็นเงิน5,000 บาท
7. จัดทำป้ายไวนิลส์ประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 6 แผ่นๆละ 500 เป็นเงิน 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ป้องกันและควบคุมโรคระบาดในพื้นที่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18460.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,710.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถการป้องกันและควบคุมโรคระบาดที่เกิดขึ้นในขณะนั้นได้
2.ให้บริการวัคซีนป้องกันโรคขั้นพื้นฐานและจำเป็นแก่กลุ่มเป้าหมายได้
3.เมื่อเกิดโรคติดต่อในพื้นที่ทีม SRRT ตำบลร่วมกับ เจ้าหน้าที่ สามารถควบคุมโรคนั้นๆได้


>