กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเผชิญการระบาดของ COVID-19

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม

กองสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลเขาตูม

นายอับดุลตอเละ จะปะกิยา
นางสาวนัสรียะห์ ปูแทน

ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโครน่า หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้

สเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ ตัวไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรนแรง แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตายไม่ได้สูงมากนักเพียง 1-3% ร้อยแรงน้อยกว่า SARซึ่งมีอัตราการตาย 10 %

ดังนั้น มาตการการป้องกันไม่ให้ติดโรค COVID-19 นั้นถือว่าจำเป็น ด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่มีคนพลุกล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮออล์เจล สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีการ การไม่นำเอามือมาป้ายหรือ จับหน้า ความรู้และเข้าใจการดำเนินไปของโรค เป็นสิ่งสำคัญ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค COVID-19

ร้อยละของ ปชช.มีความร้เรื่องอาการของโรคการป้องกันโรค COVID-19

0.00 100.00
2 เพื่อสร้างความเข้าใจการสวมหน้ากาก การมีหน้ากากอนามัยไว้ใช้เอง

ร้อยละของ ปชช.ที่สามารถมีหน้ากากอนามัยใช้เองและสามารถสวมหน้ากากถูกต้อง

0.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 5 คน ( 7 หมู่บ้าน ) 35
แกนนำ อสม. 80

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 11/03/2020

กำหนดเสร็จ 13/03/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมแกนนำเฝ้าระวังโรคและการเคาะประตูบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ฝึกอบรมแกนนำ อสม.จำนวน 80 คน หลักสูตร หนึ่ง วัน เพื่อให้เข้าใจสถานการณ์โรค การป้องกันโรค การคัดกรองโรค การวางแผนเคาะประตูบ้าน ค่าใช้จ่าย 1.ค่าอาหารว่าง 25 บาทx 80 คน เป็นเงิน 2,000 บาท
2.ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 50 บาทx 80 คน เป็นเงิน 4,000 บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากร 400 บาทx 4 ชม. เป็นเงิน 1,600 บาท 4.ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.00 เมตร x 3.00 เมตร เป็นเงิน 750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 มีนาคม 2563 ถึง 11 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้เรื่อง สถานการณ์โรค การป้องกันโรค การคัดกรองโรค การวางแผนเคาะประตูบ้าน 2.เกิดแผนการลงเคาะประตูบ้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8350.00

กิจกรรมที่ 2 ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับ ปชช.

ชื่อกิจกรรม
ลงเคาะประตูบ้านเพื่อคัดกรองและความรู้กับ ปชช.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

แบ่งสายลงพื้นที่ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ และคัดกรอง ปชช. ค่าใช้จ่าย 1.ค่าชดเชยน้ำมัน 100 บาทx จำนวน 7 คัน เป็นเงิน 700 บาท 2.ค่าอาหารกลางวันและนำ้ดื่ม(กรณีลงทำงานเต็มวัน) จำนวน 35 คน x 50 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท 3.ค่าเบี้ยเลี้ยง 300 บาทต่อวัน x 35 คน x 1 วัน เป็นเงิน 10,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มีนาคม 2563 ถึง 13 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.แกนนำลงแนะนำความรู้แก่ ปชช.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12950.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ปชช.มีความเข้าใจเรื่องโรค Covid-19
2. ปชช.มีพฤติกรรมที่สามารถป้องกัน Covid-19


>