กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่

ชุมชนในตำบลทุ่งใหญ่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค

 

20.00
2 จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

 

10.00

จากสภาพสังคมเศรษฐกิจในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลง ส่งผลต่อวิถีการดำรงชีวิตของประชาชนผู้บริโภค ที่ต้องการความสะดวกรวดเร็ว ทำอาหารเองน้อยลง ส่วนใหญ่หันไปพึ่งร้านและแผงขายอาหาร ซึ่งพบว่า ผู้จำหน่ายอาหารหันมาใช้ภาชนะโฟม (Polystyrene) บรรจุอาหารกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากสะดวก ราคาถูกและหาซื้อได้ง่าย ทั้งนี้การนำภาชนะโฟมบรรจุอาหารร้อนจัดหรือมีไขมันมากจะทำให้สารสไตรีน (styrene) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการผลิตโฟมและจัดอยู่ในสารก่อมะเร็งรวมถึงสารเคมีอื่นๆหลอมละลายออกมาปนเปื้อนในอาหาร และโฟมยังเป็นสาเหตุสำคัญอย่างหนึ่งของปัญหาสิ่งแวดล้อม เนื่องจากต้องใช้เวลาย่อยสลายประมาณ 450 ปี กอปรกับรัฐบาลกำหนด เรื่องขยะมูลฝอยเป็นวาระแห่งชาติที่ให้ทุกภาคส่วนต้องถือปฏิบัติและให้ความร่วมมือในการลดปริมาณมูลฝอยโดยเฉพาะมูลฝอยประเภทกล่องโฟม ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญ ดังนั้น เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการตอบสนองต่อนโยบายของรัฐบาล ซึ่งเป็นไปตามนโยบายการ ลด ละ เลิกใช้ภาชนะโฟมในการบรรจุอาหาร เพื่อคุ้มครองสุขภาพของประชาชน และเป็นการป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยการส่งเสริม และสร้างกระแสการรณรงค์กิจกรรม ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการ“ลด ละ เลิกใช้ภาชนะโฟม และถุงพลาสติกบรรจุอาหาร”เพื่อให้ผู้บริโภคได้ตระหนักถึงผลกระทบจากการใช้โฟม ลดพฤติกรรมเสี่ยงอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารที่บรรจุจากกล่องโฟม

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องอันตรายจากโฟมและพลาสติก

ร้อยละ80 ผู้เข้ารับการอบรมมรความรู้เรื่องอันตรายจากโฟมและพลาสติกเพิ่มขึ้น

30.00 15.00
2 เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคด้านอาหารให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย

ร้อยละ50ผู้ที่มีสารพิษตกค้างในเลือดจากสารเคมีได้รับการล้างพิษ

40.00 10.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2020

กำหนดเสร็จ 31/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายจากโฟม พลาสติก

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายจากโฟม พลาสติก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คนx2 x30 บาท  เป็นเงิน 2,400 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 40 คนx1 มื้อx 60 บาท    เป็นเงิน 2,400 บาท
  • ค่าจัดทำเอกสารประกอบการอบรม 40 ชุดx 30 บาท  เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1.2x2.4 ม. เป็นเงิน 450 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากรภาครัฐ 6 ชั่วโมงx600บาท  เป็นเงิน 3,600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2563 ถึง 15 พฤษภาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องโฟม พลาสติก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10050.00

กิจกรรมที่ 2 เฝ้าระวังสุขภาพจากสารพิษตกค้างในร่างกาย

ชื่อกิจกรรม
เฝ้าระวังสุขภาพจากสารพิษตกค้างในร่างกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 55 คนx 1 มื้อx 30 บาท  เป็นเงิน 1,650 บาท
  • ชุดตรวจสารพิษตกค้างในเลือด 100 ตัวอย่าง  เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากรประจำกลุ่ม 2 คนx 3 ชั่วโมงx 600บาท เป็นเงิน 3,600 บาท -ค่าสมุนไพรรางจืด 30 แคปซูล x 55 ชุดx100 บาท  เป็นเงิน 5,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
28 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ปริมาณสารพิษตกล้างในร่างกายลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13750.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนสามารถเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากอันตราย


>