กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการโรงเรียนอ่อนหวาน ปีงบประมาณ 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า

โรงเรียนบ้านป่าก่อ

1.นางสุภาพร บุญวัน
2.นางสุวรรณา วรรณทวี
3.นางอรอนงค์ มั่นหมาย
4. นายสุนทร ศรีสุข
5. นางวรรณภาภารการ

โรงเรียนบ้านป่าก่อ ต.หนองเหล่า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ

 

34.00
2 จำนวนโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch

 

2.00
3 ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาโรงเรียน

 

26.00

ปัจจุบันโรงเรียนบ้านป่าก่อ มีนักเรียน จำนวน 29 คน ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 5 คน จากการสำรวจโดยเทียบเกณฑ์มาตรฐานพบว่ายังมีนักเรียนที่น้ำหนักเกณฑ์เกณฑ์มาตรฐานหลายราย เนื่องจากทานหวานจนล้นเกิน จึงเล็งเห็นว่าควรดำเนินการจัดทำโครงการโรงเรียนอ่อนหวานขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ ครบ3 มื้อ เพิ่มขึ้น

34.00 44.00
2 เพิ่มการใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

จำนวนโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch

2.00 3.00
3 เพื่อลดปัญหาเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาโรงเรียน

ร้อยละของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาโรงเรียน ลดลง

26.00 12.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 132
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมวางแผนการเรียนการสอนด้านโภชนาการให้กับนักเรียน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมวางแผนการเรียนการสอนด้านโภชนาการให้กับนักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คณะครูร่วมกันออกแบบและวางแผนกิจกรรมการเรียนการสอนด้านการเสริมโภชนาการให้กับเด็กนักเรียน ในการจัดหาอาหารเช้า อาหารกลางวัน กิจกรรมการเรียนการสอนการงานอาชีพ การปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นวัตถุดิบใช้ประกอบอาหาร

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ได้รูปแบบกิจกรรมการเสริมสร้างโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กทุกช่วงวัย
  2. แบ่งบาทหน้าที่คณะครูในการดำเนินงานด้านต่างๆ
  3. แผนการดำเนินงานเสริมสร้างโภชนาการให้กับเด็กนักเรียน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความโภชนาการกับการเจริญเติบโตตามช่วงวัย

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความโภชนาการกับการเจริญเติบโตตามช่วงวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ครูจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนให้กับเด็กนักเรียนเรื่อง โภชนาการกับการเจริญเติบตามช่วงวัย โดยจัดทำสื่อการเรียนการสอน และพานักเรียนศึกษานอกสถานที่ในพื้นที่ของปราชญ์ชาวบ้านที่มีแปลงการเกษตรสามารถเป็นตัวอย่างในการศึกษา
  2. ให้เด็กนักเรียนปฏิบัติแปลงปลูกพืชผักการเกษตรและเลี่้ยงสัตง์ภายในบริเวณโรงเรียน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็กนักเรียนมีความรู้การโภชนาการที่เหมาะสมช่วงวัย และเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม
  2. โรงเรียนจัดทำอาหารเช้า และอาหารกลาง เป็นเมนูตามโภชนาการของเด็กนักเรียน
  3. มีแปลงเกษตร และการเลี้ยงสัตว์เพื่อนำมาเป็นวัตถุดิบในการทำอาหารเช้าและอาหารกลางวันในโรงเรียน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 3 ฝึกแปรรูปอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับเด็กนักเรียน

ชื่อกิจกรรม
ฝึกแปรรูปอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารสำหรับเด็กนักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ครูทำการเรียนการสอนโดยการให้เด็กนักเรียนได้มีส่วนร่วมในการประกอบอาหารกลางวัน และฝึกแปรรูปอาหาร ประเภทอาหารที่เด็กนักเรียนสนใจรับประทานให้ได้ธาตุอาหารที่ครบ 5 หมู่

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด้กนักเรียนสามารถประกอบอาหารได้ และสามารถนำไปทำรับประทานเองที่บ้านได้
  2. มีเมนูอาหารที่เด็กนักเรียนรับประทาน ได้ธาตุอาหารครบ 5 หมู่ ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตตามช่วงวัย
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคทุพโภขนาการ
2.ให้นักเรียนในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทุพโภขนาการ และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม การป้องกันไม่ให้เกิดโรคทุพโภขนาการ
3.ลดและควบคุมจำนวนนักเรียนทุพโภขนาการ ภายในโรงเรียน


>