กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน รหัส กปท. L7010

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ปี 2563
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรี งานคลินิกวัยใส
กลุ่มคน
1 นางสาวมายีดะห์ดอเลาะเบอร์โทร 08 7295 7112
2 นางมัสณีเจ๊ะเบอร์โทร 086 6296 4511
3 นางสาวชนิตา เพื่อนฝูงเบอร์โทร 08 3258 1503
4 นางสาวอัยเซาะห์ มะดง เบอร์โทร 08 6290 7074
5 นางยัซมิน กาเลงเบอร์โทร 08 071202479
3.
หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ปัญหาวัยรุ่นหลักๆในพื้นที่อำเภอสายบุรีจังหวัดปัตตานีปัจจุบัน จากการให้บริการคลินิกวัยใสบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน(Youth Friendly Health Service: YFHS) ในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรีได้มีการคัดกรองวัยรุ่นตั้งครรภ์ที่มารับบริการในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรีพบว่าตั้งแต่ปี 2560 - 2562 มีวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อมจำนวน 16 23 และ 8 รายตามลำดับ ดังนั้นคลินิกวัยใส บริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน(Youth Friendly Health Service: YFHS) โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรี ร่วมกับกองทุนเทศบาลเมืองตะลุบัน ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงจัดทำโครงการการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. แกนนำอสม.มีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่นได้อย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของแกนนำอสม.มีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่นได้อย่างเหมาะสม
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. โรงเรียนในเขตเทศบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของโรงเรียนในเขตเทศบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. ชุมชนในเขตเทศบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของชุมชนในเขตเทศบาลมีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. .อบรมให้ความรู้อสม.และผู้นำชุมชนเรื่องการดูแลเฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่น
    รายละเอียด

    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน และคณะทำงาน 5 คน เป็น 65 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 3,250 บาท
    -ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 60 คน และคณะทำงาน 5 คน เป็น 65 คน x 50 บาท x 1 มื้อ = 3,250 บาท -ค่าเดินทางของผู้เข้าโครงการ 65 คน x 50 บาท = 3,250 บาท -ค่าวิทยากรกลุ่ม 5 คน  x 300 บาท x 2 ชม.  = 3,000 บาท -ค่าวิทยากรบรรยาย 1 คน x 300 บาท x 3.5 ชม. =1,050 บาท -ค่าไวนิลความรู้ขาตั้ง(ขนาด 80 x 180 เซนติเมตร) จำนวน 2 อัน x 850 บาท = 1,700 บาท -ค่าป้ายไวนิลชื่อโครงการ(ขนาด 1 x 2 เมตร) จำนวน 1 อัน = 500 บาท -ค่าวัสดุสำนักงาน = 1,500 บาท รวมเป็นเงิน 17500.-บาท

    งบประมาณ 17,500.00 บาท
  • 2. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอัน/ป้องกันการซินา 2.1โรงเรียนมัธยมในเขตเทศบาลจำนวน 5 โรง
    รายละเอียด

    -ของรางวัลประกวดรูปถ่ายเพื่อใช้ทำสื่อรณรงค์ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นโรงเรียน 5 โรงๆละ 2 รางวัล เป็น 10 รางวัล รางวัลละ 1,000 บาท = 10,000 บาท -ของรางวัลประกวดคำขวัญ/กลอนเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร/ซินา รางวัลที่ 1  1 รางวัล จำนวน500 บาท = 500 บาท -ของรางวัลประกวดคำขวัญ/กลอนเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร/ซินา รางวัลที่ 2 1 รางวัล จำนวน 300 บาท = 300 บาท -ของรางวัลประกวดคำขวัญ/กลอนเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร/ซินา รางวัลที่ 3 1 รางวัล จำนวน 200 บาท = 200 บาท -สื่อโฟมบอร์ดรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรขนาด 120 ซม. x 80 ซม. โรงเรียนละ 1 อัน อันละ 620 บาท x 5 อัน = 3,100 บาท รวมเป็นเงิน14100.- -ของรางวัลประกวดรูปถ่ายเพื่อใช้จัดทำสื่อรณรงค์ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นในชุมชน 3 รางวัล รางวัลละ 1,000 บาท = 3,000 บาท -สื่อไวนิลรณรงค์ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ขนาด 1 x 2 เมตร ชุมชนละ 1 อัน อันละ 500 บาท x 20 อัน = 10,000 บาท รวมเป็นเงิน13000.-

    งบประมาณ 27,100.00 บาท
  • 3. อบรมให้ความรู้กิจกรรม Up To Me เพื่อลดความเสี่ยงในเรื่องเพศ ป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
    รายละเอียด

    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าโครงการจำนวน 60 คน และคณะทำงาน 5 คน เป็น 65 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 3,250 บาท
    -ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าโครงการจำนวน 60 คน และคณะทำงาน 5 คน เป็น 65 คน x 50 บาท x 1 มื้อ = 3,250 บาท -ค่าวัสดุเครื่องเขียน 65 คน x 100 บาท = 6,500 บาท -ค่าวิทยากรกลุ่ม 5 คน x 300 บาท x 4.5 ชม. = 6,750 บาท -ค่าวิทยากรบรรยาย 1 คน x 300 บาท x 1 ชม. = 300 บาท -ค่าวัสดุสำนักงาน = 1,500 บาท รวมเป็นเงิน21550.-

    งบประมาณ 21,550.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลตะลุบัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 66,150.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. อสม.มีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่นได้อย่างเหมาะสม
    1. โรงเรียน นักเรียน และชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร/ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
    2. นักเรียนผู้เข้าโครงการได้รับข้อมูลความรู้ เกิดความตระหนัก และรู้วิธีลดความเสี่ยงที่จะมีเพศสัมพันธ์อันนำไปสู่การตั้งครรภ์ไม่พร้อมและติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
    3. สร้างค่านิยมการไม่มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
    4. เป็นประชาสัมพันธ์ข่าวสารเพิ่มการเข้าถึงบริการคลินิกวัยใส
    5. การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นลดลง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน รหัส กปท. L7010

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน รหัส กปท. L7010

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 66,150.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................