กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หน้าถ้ำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและควบคุมโรควัณโรค ปีงบประมาณ 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หน้าถ้ำ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหน้าถ้ำ

นาย สกุลเอก ชูเมือง

ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่นตำบลหน้าถ้ำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างใหญ่หลวงอุบัติการณ์ของวัณโรคเคยลดลงอย่างช้าๆ ในอดีตแต่ในระยะหลังนี้กลับเพิ่มขึ้นเนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์และการดื้อยา จำนวนผู้ป่วยวัณโรค รพ.สต.หน้าถ้ำ ตั้งแต่ปี 2558 - 2562 ทั้งหมด 14 ราย อัตราการรักษาหาย 13 ราย เสียชีวิต 1 ราย รักษาต่ออีก 1 ราย ปี 2563 มีผู้ป่วยวัณโรคกำลังรักษา จำนวน 2 ราย เพื่อให้มีประสิทธิภาพรวมทั้งการสร้างความตระหนักในระดับชุมชนและร่วมกันส่งเสริมป้องกันปัญหาของวัณโรคให้ลดน้อยลงต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหน้าถ้ำจึงได้เร่งรัดดำเนินการโครงการป้องกันและควบคุมวัณโรค โดยการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และวิธี DOTS ในระดับชุมชน ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรควัณโรค

 

0.00
2 เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันเกี่ยวกับโรควัณโรคให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน

 

0.00
3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ และเข้าใจ และตระหนักในการป้องกันโรควัณโรค

 

0.00
4 เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วนวัณโรค แบบDOTS ให้เป็นไปตามมาตรฐาน

 

0.00
5 เสริมสร้างพลังแก่ อสม. เพื่ป้องกันวัณโรคชุมชน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้สัมผัสโรค

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้สัมผัสโรค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ 1. จัดทำโครงการเสนอประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลหน้าถ้ำ เพื่อพิจารณาเห็นชอบ และอนุมัติให้ดำเนินการ 2. จัดทำหลักสูตรการอบรม 3. ประสานวิทยากรและกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรม 4. รูปแบบการอบรมใช้วิธีบรรยาย และอบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรคแก่ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้สัมผัสโรค จำนวน 40 คน ณ ห้องประชุม รพ.สต.หน้าถ้ำ 5. ค้นหาและตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงทั้งในสถานบริการและชุมชน

งบประมาณ 1. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้สัมผัสโรค จำนวน 40 คน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน x 25 บาท x 2 มื้อเป็นเงิน 2,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 คน x 80 บาทเป็นเงิน 3,200 บาท - ค่าวิทยาการ จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 300 บาทเป็นเงิน 1,800 บา ท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 7,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สามารถลดอัตราการป่วยและอัตราตายด้วยโรควัณโรค
2. ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการดูแล โดยการกินยาแบบDOTS ได้มาตรฐาน
3. อสม. มีบทบาทหน้าที่ในการดำเนินการป้องกันวัณโรคและเยี่ยมบ้าน ติดตามผู้ป่วยและการส่อต่อที่มีประสิทธิภาพ
4. การค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกมีศักยภาพเพิ่มขึ้น


>