กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเคาะประตูบ้านเฝ้าระวังและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา ๑๙

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค

ชมรมอสม.หมู่ที่ ๒บ้านตาเซะ

หมู่ ๒บ้านตาเซะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า"โรคอู่ฮั่น"ที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้มีความรุนแรงเทียบเท่ากับโรคซาร์สมากที่สุดทำให้ผู่บ่วยมีอาการปอดอักเสบรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้ องค์การอนามัยโลกยังไม่สามารถหาที่มาของเชื้ออย่่างชัดเจนได้แต่สันนิษฐานว่าอาจจะมาจากเนื้อสัตว์ป่าที่ซื้อขายอยู่และปัจจุบันเชื้อไวรัสนี้สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนจากการไอจามหรือสัมผัสกับสารคัดหลั่งของคนที่ป่วยดังนั้น เราควรดูแลตนเองเพื่อให้ห่างไกลจากดชื้อไวรัสโคโรนาจากสถานการณ์โรคผู้ติดเชื้อไวรัสโ๕โรนา ๑๙(COVID๑๙) ข้อมูลณ วันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๖๓๕ อันดับแรก ได้แก่สาธารณรัฐประชาชนจีน (๘๐,๐๒๖ ราย) ๒.เกาหลีใต้(๔,๓๓๕ ราย) ๓. อิตาลี(๑,๖๙๔ราย) ๔. อิหร่าน(๙๗๘ ราย)และ ๕. ญี่ปุ่น (๒๕๖ ราย) สถานการณ์ในประเทศไทยพบผู่ป่วยยืนยันสะสม๔๓ รายผู้ป่วยยืนยันกลับบ้าน ๓๑ รายรักษาอยู่ในโรงพยาบาล๑๑ รายเสียชีวิต๑ รายข้อมูล ณวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๖๓ ทั้งนี้ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา๑๙(COVID - ๑๙) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้คำแนะนำและเคาะประตูบ้านเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไวรัสโคโรนา ๑๙(COVID -๑๙ )

ประชาชนสามารถเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ ๑๐๐

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 730
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2020

กำหนดเสร็จ 30/04/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรค COVID-๑๙ และวิธีป้องกันโรคด้วยตนเอง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-๑๙) และสามารถป้องกันตัวจากโรคติดต่อได้ถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14750.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,750.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันตัวจากโรคติดต่อได้
๒. สามารถค้นหาผู้ที่กลับจากพื้นที่เสี่ยง แจ้งให้กับจนท.เพิ่มขึ้น


>