กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวโรคความดันโลหิตสูง ,โรคเบาหวานแก่ประชาชน ๓๕ ปีขึ้นไป ปี ๒๕๖๓

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นานาค

ชมรมอสม.หมู่ ๓ ตำบลนานาค

หมู่ ๓ บ้านปะดาดอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือเป็น"ภัยเงียบ"เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฎอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไตหลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังจำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก จากรายงานผลการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนานาค พบว่า มีอัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหมา เพิ่มขึ้น จากระดับการศึกษา อาชีพและวิธีชีวิตของชุมชนส่วนใหญ่ประชาชนยังให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองน้อย ทำแต่งาน รับประทานอาหารที่หาได้ง่ายในชุมชน อาหารแปรรูปที่สามารถเก็บไว้รับประทานได้หลายวันโดยไม่เน่าเสีย และมีเกือบทุกหลังคาเรือน เช่นบูดู ปลาเค็ม และเนื้อเค็ม ซึ่งจะมีรสชาติที่เค็มมาก และยังนิยมบริโภคอาหารที่มีรสหวาน รสมัน และพฤติกรรมการบริโภคน้ำชา กาแฟ เป็นกิจวัตรประจำวันประกอบกับการขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามรูปแบบ และยังมีพฤติกรรมที่ไม่นิยมรับประธานผัก จึงส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่มีภาวะป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง เช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคหัวใจและหลอดเลือด เพิ่มขึ้นในแต่ละปี แม้ว่าทางเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะให้ข้อมูล ให้สุขศึกษาที่เกี่ยวกับโรคเหล่านี้มาทุกๆปี แต่ก็ยังมีประชาชนที่ป่วยด้วยโรคดังกล่าวเพิ่มขึ้นในทุกๆปีเช่นเดียวกัน และยังมีกลุ่มผู้ป่วยที่กลายเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ็อน มีความพิการทางด้านร่างกาย ดังนั้นโรพยาบาลลส่งเสริสงสุขภาพตำบลนานาคได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกืดขึน และได้คิคิดหาแนวทางแก้ไขและป้องกันภาวะความรุนแรงของโรคเรื้อรังที่เกิดจากพฤติกรรมตนเองจึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเหาหวานแก่ประชาชน ๓๕ ปีขึ้นไปิและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคปี ๒๕๖๒ นี้ขึนเพื่อให้แระชาชนได้รับการคีรจคัดกรองเปาหงานและควาวกันโลหอตสูงตามมารฐษน พร้อมทั้งรณงค์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฆติการรทที่ดี และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนมีความรู้และสามารถนำไปปฎิบัติดูแลตัวเองและแนะนำคนในครอบครัวได้

ร้อยละ ๙๕ ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑ ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานร้อยละ ๙๕
๒ ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐
๓ ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีภาวะสุขภาพที่ดี ไม่พบผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ เพิ่มขึ้น


>