กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการรวมพลังชาวในเมืองป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา (COVID -19)
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในเมือง ม.12 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล
กลุ่มคน
1.นางสาววาสนา ง๊ะสมัน
2.นางสามาพร สมาคม
3.นางนุดสารา ง๊ะสมัน
4.นางอารี นาคสง่า
5.นางพรรวดี อุรามา
3.
หลักการและเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019”เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย สาธารณรัฐประชาชนจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้พบว่าเป็นเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ในชื่อ ไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) และองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็น “ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ” เนื่องจากเชื้อไวรัสดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ตลอดจนประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขได้มีประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย ขณะนี้เกิดการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีการระบาดใหญ่ (Pandemic) ไปทั่วโลก (ตามประกาศขององค์การอนามัยโลก, 11 มีนาคม 2563) และประเทศไทยมีผู้ป่วยสะสม ณ วันที่ 27 มีนาคม 2563 จำนวน 1,045 ราย เสียชีวิต 4 ราย ทั้งนี้ยังปรากฏผู้ป่วยในจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดสตูล ได้แก่จังหวัดตรัง และจังหวัดสงขลา ทั้งนี้ประชาชนในพื้นที่ตำบลละงู มีญาติที่ไปประกอบอาชีพ ณ ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศที่ถูกประกาศให้เป็นพื้นที่ระบาดอย่างต่อเนื่อง (WHO : 22 มีนาคม 2563) และประชาชนที่กลับจากพื้นที่เสี่ยง จากข้อมูลสถานการณ์โรคจะเห็นได้ว่าประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของ บ้านในเมืองมีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านในเมือง จึงได้จัดทำโครงการรวมพลังชาวบ้านในเมืองป้องกันและควบคุมการระบาดโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) ขึ้นเพื่อเร่งดำเนินการป้องกัน ควบคุมการแพร่กระจายโรค และการสร้างสุขนิสัยส่วนบุคคลให้ถูกต้อง รวมถึงให้ข้อมูลที่ถูกต้องและคัดกรองภาวะเสี่ยงแก่ประชาชนในพื้นที่ ช่วยลดผลกระทบในด้านเศรษฐกิจและสังคมต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อคัดกรองสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยง และมีอาการเข้าได้ตามนิยามของโรค COVID-19
    ตัวชี้วัด : มีจุดบริการคัดกรองสุขภาพประจำวัน อย่างน้อย 1 ชุด ในหมู่บ้าน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2.เพื่อจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ เคมีภัณฑ์ ป้องกันควบคุมโรค COVID -19
    ตัวชี้วัด : มีอุปกรณ์สนับสนุนการดำเนินการในการจัดบริการตามแผน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1. ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน
    รายละเอียด

    1.1 กิจกรรมย่อย - อบรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน - จัดทำแผนงาน - มอบหมายงาน (มีจุดคัดกรองสุขภาพสำหรับการรวมกลุ่มมากกว่า 10 คน ภายใต้การควบคุมของเจ้าพนักงานควบคุมโรค) งบประมาณ - ค่าอาหารกลางวัน ๕๐.- บาท.x 15 คน = 75๐.-บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บาทx ๒ มื้อ x 15 คน= 75๐บ. - ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ/สื่อสุขศึกษา ๕00.- บาท x 5 แผ่น =2500.- บาท รวมเงิน 4,000.- บาท

    งบประมาณ 4,000.00 บาท
  • 2. 2. จัดตั้งจุดคัดกรองสุขภาพประจำหมู่บ้าน
    รายละเอียด

    1.1 กิจกรรมย่อย - ซักประวัติการเดินทาง / ประเมินความเสี่ยง - ตรวจสุขภาพด้วยวิธีการวัดอุณหภูมิร่างกาย - ให้สุขศึกษาประชาชนเฉพาะราย การกำจัด ทำลายเชื้อด้วยวิธีการล้างมือด้วยสบู่ เจลแอลกอฮอล์ สวมหน้ากากอนามัย เป็นต้น - จัดบริการสุขภาพรักษาพยาบาลด้วยยาสามัญประจำบ้าน (ขอสนับสนุน รพ.สต.เบิกจ่ายตามสิทธิรักษา) หมายเหตุ : เบิกเฉพาะอาหารและอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มสำหรับแกนนำที่ปฏิบัติหน้าที่ ณ จุดคัดกรองสุขภาพประชาชน งบประมาณ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มวันละ 1 มื้อๆละ ๒๕ บาท x 30 มื้อ x 10 คน= 7,500บ. รวมเงิน 7,5๐๐.- บาท

    งบประมาณ 7,500.00 บาท
  • 3. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ เคมีภัณฑ์ป้องกันควบคุมโรค COVID-19
    รายละเอียด
    • จัดซื้อเครื่องวัดอุณหภูมิอินฟาเรด ราคา 4,300.- บาท  x 2 เครื่อง = 8,000.- บาท
    • จัดซื้อเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ แกลลอน 5 ลิตร ราคา 1,790.- บาท x 2 แกลลอน เป็นเงิน 3,580.- บาท
    • จัดซื้อหน้ากากอนามัย เป็นเงิน 2,000.- บาท
    • วัสดุงานบ้าน จัดทำหน้ากากอนามัย เป็นเงิน  3000 บาท รวมเงิน 16,580.- บาท
    งบประมาณ 16,580.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 10 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563

8.
สถานที่ดำเนินการ

1. ประชาชนมีความตระหนักในการป้องกันตนเองในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน2. ไม่พบผู้ป่วยในพื้นที่ และมีระบบเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยที่เข้าได้ตามนิยามโรคอย่างมีประสิทธิภาพ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 28,080.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชาชนมีความตระหนักในการป้องกันตนเองในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน
    1. ไม่พบผู้ป่วยในพื้นที่ และมีระบบเฝ้าระวังอาการผู้ป่วยที่เข้าได้ตามนิยามโรคอย่างมีประสิทธิภาพ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 28,080.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................