กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค (63-l4123-01-13)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

รพ.สต.บ้านกือลอง

รพ.สต.บ้านกือลอง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ประชาชนต้องได้รับการคุ้มครองในฐานะผู้บริโภค ด้านสุขภาพเสมอกัน โดยให้สำคัญ กับเรื่องสิทธิในฐานะผู้บริโภค ไม่ให้ผู้ใดมาเอาเปรียบหรือยัดเยียด ให้ซื้อและบริโภคแต่เฉพาะสิ่งที่ผู้ประกอบการหรือผู้ขายเป็นผู้กำหนดให้ ทั้งชนิด ปริมาณ ราคา และคุณภาพ หรือแม้แต่สิ่งเจอปนด้วยสารพิษอันเป็นการทำลายสุขภาพของผู้บริโภค ซึ่ง การคุ้มครองผู้บริโภค หมายถึง การปกป้องดูแลผู้บริโภคให้ได้รับความปลอดภัย เป็นธรรมและประหยัดจากการบริโภคสินค้าและบริการ เพื่อให้ผู้บริโภคปลอดภัยจากการใช้บริการด้านสุขภาพและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ไม่ว่าเป็น อาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆท่ีมีผลกระทบต่อสุขภาพโดยกำหนดสิทธิในการเข้าถึงด้านสุขภาพที่เหมาะสม สิทธิท่่จะได้รับข้อมูลข่าวสาร ความรู้ เป็นต้น รพ.สต.บ้านกือลอง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่าวยคุ้มครองผู้บริโภคขึ้น เพื่อให้เครือข่ายร้านชำมีความตระหนัก การพัฒนา และจำหน่ายอาหาร ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้มาตรฐาน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างเครือข่ายที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินการด้านสุขภาพที่ถูกต้อง

ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100

16.00 16.00
2 เพื่อให้เจ้าของราน ร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย ผ่านการอบรมและสามารถพัฒนาร้านให้ได้มาตรฐาน

ร้านชำ ฯลฯ ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ปลอดภัยได้มาตรฐานร้อยละ 100

16.00 16.00
3 เพื่อให้ประชาชนในพื้นท่ีได้เลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัย และไม่มีสารปนเปื้อน

ประชาชนมีความรู้และสามารถบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ และถูกต้องเหมาะสม

50.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 14
กลุ่มวัยทำงาน 16
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อสม.ร่วมกับ จนท.สธ.ลงพื้นที่สำรวจร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย

ชื่อกิจกรรม
อสม.ร่วมกับ จนท.สธ.ลงพื้นที่สำรวจร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อสม.ลงพื้นที่ ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข สำรวจพื้นที่ ร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอย ได้รับการสำรวจ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10320.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,320.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมและถูกต้องไม่หลงเชื่อโฆษณาชวนเชื่อ
2.ประชาชนมีความรู้และสามารถบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3.ร้านชำในชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพปลอดภัยได้มาตรฐานมาจำหน่ายคลอบคลุมร้อยละ 100


>